Page 23 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                   แตกต่างทางสถิติ ปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่ระหว่าง 1.54 – 2.16 เปอร์เซ็นต์ และพบว่าปริมาณ

                   อินทรียวัตถุในดินสูงขึ้นเล็กน้อยในทุกต ารับทดลอง ยกเว้นโดยใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบ
                   น้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 5) มีค่าอินทรียวัตถุลดลงเท่ากับ 1.65 เปอร์เซ็นต์ ดังตาราง
                   ที่ 7
                         3) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน จากการทดลองพบว่า ก่อนการปลูกข้าวทุกต ารับทดลอง
                   ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ซึ่งมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ระหว่าง 244.67–306.00 มิลลิกรัม

                   ต่อกิโลกรัม โดยการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับทดลองที่ 2) มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
                   ประโยชน์ในดินต่ าที่สุด เท่ากับ 244.67 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และพบว่าใช้ ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า
                   ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 4) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินสูงสุด มีปริมาณ

                   244.67 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ดังตารางที่ 6 และพบว่าหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ทุกต ารับทดลองไม่มีความแตกต่าง
                   ทางสถิติ มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ระหว่าง 212.00 – 269.33 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และ
                   พบว่าทุกต ารับทดลองปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินลดลงยกเว้นต ารับควบคุม (ต ารับทดลองที่ 1)
                   ดังตารางที่ 7

                         4) ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน จากการทดลองพบว่า ก่อนการปลูกข้าวทุกต ารับ
                   ทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน อยู่ในช่วง 113.33 –
                   193.33 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70
                   เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 5) มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินสูงสุด 193.33 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

                   และต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง (ต ารับทดลองที่ 6) ปริมาณฟอสฟอรัสที่
                   เป็นประโยชน์ในดินต่ าสุด 113.33 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ดังตารางที่ 6 เมื่อเปรียบเทียบหลังการทดลองทุก
                   ต ารับทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน อยู่ในช่วง 119.33 –
                   158.33 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง (ต ารับทดลองที่ 6 – 8) มี

                   ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินเพิ่มขึ้นเล็กน้อย มีค่าเท่ากับ 128.33 141.00 และ 132.33
                   มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ ดังตารางที่ 7
                         ผลการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินปีที่ 3 ก่อนการปลูกข้าวทุกต ารับทดลองไม่มีความแตกต่าง

                   ทางสถิติ มีค่าอยู่ระหว่าง 7.47 – 7.77 เมื่อเปรียบเทียบกับดินหลังทดลองพบว่า ความเป็นกรดเป็นด่างของ
                   ดินลดลงทุกต ารับทดลอง แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ มีค่าอยู่ระหว่าง 7.22 – 7.50 ก่อนการปลูกข้าวทุก
                   ต ารับทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ซึ่งมีปริมาณอินทรียวัตถุ มีค่าอยู่ระหว่าง 1.39 - 1.86 เปอร์เซ็นต์
                   เมื่อเปรียบเทียบกับดินหลังทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่ระหว่าง 1.54 –
                   2.16 เปอร์เซ็นต์ และพบว่าปริมาณอินทรียวัตถุในดินสูงขึ้นเล็กน้อยในทุกต ารับทดลอง ก่อนการปลูกข้าวทุก

                   ต ารับทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ซึ่งมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ระหว่าง 244.67–
                   306.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  และพบว่าหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ทุกต ารับทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ มี
                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ระหว่าง 212.00 – 269.33 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ก่อนการปลูกข้าว

                   ทุกต ารับทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน อยู่ในช่วง
                   113.33 – 193.33 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28