Page 22 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ตารางที่ 5 สมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลอง ปีที่ 2
pH OM Aval.P Aval.K
ต ารับทดลอง
(%) (mg/kg) (mg/kg)
T1 ควบคุม 7.43 1.85 328.67a 118.67
T2 ปุ๋ยเคมี (อัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน) 7.50 1.79 331.67a 109.33
T3 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า 7.70 1.42 282.33ab 106.67
T4 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50% 7.53 1.51 269.67bc 95.33
T5 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70% 7.53 2.05 258.00bc 98.67
T6 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง 7.60 1.43 288.67ab 90.67
T7 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50% 7.70 1.52 228.33c 89.00
T8 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70% 7.77 1.48 282.00ab 120.00
CV (%) 2.41 19.51 10.39 18.48
F-test ns ns * ns
หมายเหตุ: ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์เดียวกันที่ตามหลังด้วยอักษรเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความ
เชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT
ns = ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
** = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์
การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน ปีที่ 3
1) ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน จากการทดลองพบว่า ก่อนการปลูกข้าวทุกต ารับทดลองไม่มีความ
แตกต่างทางสถิติ มีค่าอยู่ระหว่าง 7.47 – 7.77 โดยใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับทดลองที่ 2) ค่าความ
เป็นกรดเป็นด่างของดินสูงสุด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 7.77 และใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว
รูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 4) ค่าความเป็นกรดเป็นด่างต่ าสุด มีค่าความเป็น
กรดเป็นด่าง 7.47 โดยต ารับควบคุม การใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์
และการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 1 3 และ 5) ความ
เป็นกรดเป็นด่างของดินเท่ากับ 7.57 7.73 และ 7.53 ตามล าดับ และต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ
รูปแบบผง ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ และใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ
รูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 6 7 และ 8) ความเป็นกรดเป็นด่างของดินเท่ากับ
7.63 7.57 และ 7.50 ตามล าดับ ดังตารางที่ 6 เมื่อเปรียบเทียบกับดินหลังทดลองพบว่า ความเป็นกรดเป็น
ด่างของดินลดลงทุกต ารับทดลอง แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ มีค่าอยู่ระหว่าง 7.22 – 7.50 โดยใช้
ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 8) ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
ของดินสูงสุด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 7.50 และใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง (ต ารับทดลองที่ 6) มีค่า
ความเป็นกรดเป็นด่างต่ าสุด 7.47 ดังตารางที่ 7
2) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน จากการทดลองพบว่า ก่อนการปลูกข้าวทุกต ารับทดลองไม่มีความ
แตกต่างทางสถิติ ซึ่งมีปริมาณอินทรียวัตถุ มีค่าอยู่ระหว่าง 1.39 - 1.86 เปอร์เซ็นต์ ดังตารางที่ 6 ปริมาณ
อินทรียวัตถุสูงสุดโดยใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับ
ทดลองที่ 5) มีปริมาณอินทรียวัตถุ 1.86 เปอร์เซ็นต์ สูงกว่าต ารับควบคุม (ต ารับทดลองที่ 1) ซึ่งมีปริมาณ
อินทรียวัตถุ 1.82 เปอร์เซ็นต์ และพบว่าใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์
(ต ารับทดลองที่ 8) มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ าสุด 1.39 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับดินหลังทดลองไม่มีความ