Page 25 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                    5
                                          4
                   มีปริมาณอยู่ในช่วง 8.4x10  – 2.7x10   จ านวนโคโลนีต่อกรัม และพบว่าต ารับทดลอง 7 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ย
                                                                                                            5
                   ชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ A.  brasilence สูงสุด 2.7x10
                   จ านวนโคโลนีต่อกรัม รองลงมาคือต ารับทดลองที่ 3 และ 5 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า
                                                                                         5
                   และใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ A. brasilence เท่ากันเท่ากับ 1.9x10  จ านวนโคโลนีต่อกรัม
                                                        5
                                                                  5
                   ส าหรับ B.  megaterium อยู่ในช่วง 1.2x10  – 1.7x10   จ านวนโคโลนีต่อกรัม พบว่าต ารับทดลองที่ 3 ใช้
                                                                                             5
                   ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า พบปริมาณ B. megaterium สูงสุด 2.6x10  จ านวนโคโลนีต่อ
                   กรัม รองลงมาคือต ารับ 7 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์
                         5
                   2.3x10  จ านวนโคโลนีต่อกรัม ดังกราฟที่ 1
                            ผลการวิเคราะห์ปริมาณจุลินทรีย์ในดินปีที่ 2
                                                                                               7
                            ผลการวิเคราะห์ปริมาณจุลินทรีย์เอนโดไฟท์ในแปลงเพาะกล้ามีปริมาณ 1.3x10   จ านวนโคโลนี
                                                                                                            5
                                                                                                  4
                   ต่อกรัม และ พบว่าปริมาณจุลินทรีย์ A. brasilence ในต ารับทดลองมีปริมาณอยู่ในช่วง 8.4x10  – 2.6x10
                   จ านวนโคโลนีต่อกรัม และพบว่าต ารับทดลอง 7 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผงร่วมกับ
                                                                        5
                   ปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ A.  brasilence สูงสุด 2.7x10   จ านวนโคโลนีต่อกรัม รองลงมาคือต ารับ
                   ทดลองที่ 3 และ 5 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า และใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์
                                                          5
                   ปริมาณ A.  brasilence เท่ากันเท่ากับ 1.9x10   จ านวนโคโลนีต่อกรัม ส าหรับ B.  megaterium อยู่ในช่วง
                                   5
                         5
                   1.2x10  – 1.7x10   จ านวนโคโลนีต่อกรัม พบว่าต ารับทดลองที่ 3 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว
                                                                 5
                   รูปแบบน้ า พบปริมาณ B. megaterium สูงสุด 2.6x10  จ านวนโคโลนีต่อกรัม รองลงมาคือต ารับทดลองที่ 6
                                                                                5
                   ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผงมีปริมาณจุลินทรีย์ 2.3x10  จ านวนโคโลนีต่อกรัม ดังกราฟที่
                   2
                            ผลการวิเคราะห์ปริมาณจุลินทรีย์ในดินปีที่ 3
                                                                                               7
                            ผลการวิเคราะห์ปริมาณจุลินทรีย์เอนโดไฟท์ในแปลงเพาะกล้ามีปริมาณ 1.5x10   จ านวนโคโลนี
                                                                                                            7
                                                                                                  7
                   ต่อกรัม และ พบว่าปริมาณจุลินทรีย์ A. brasilence ในต ารับทดลองมีปริมาณอยู่ในช่วง 2.0x10  – 5.7x10
                   จ านวนโคโลนีต่อกรัม และพบว่าต ารับทดลอง 8 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผงร่วมกับ
                                                                        7
                   ปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ A.  brasilence สูงสุด 5.7x10   จ านวนโคโลนีต่อกรัม รองลงมาคือต ารับ
                   ทดลองที่ 5 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ ส าหรับปริมาณ B.
                                              7
                                                        7
                   megaterium อยู่ในช่วง 2.7x10  – 4.9x10  จ านวนโคโลนีต่อกรัม พบว่าต ารับทดลองที่ 3 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ย
                                                                                       7
                   ชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า พบปริมาณ B.  megaterium สูงสุด 4.9x10   จ านวนโคโลนีต่อกรัม
                   รองลงมาคือต ารับ 8 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณ
                                  7
                   จุลินทรีย์ 4.7x10   จ านวนโคโลนีต่อกรัม ดังกราฟที่ 3 ปริมาณจุลินทรีย์ในดินปีที่ 3 พบว่าสูงกว่าในปีที่ 1
                   และ 2 อาจเนื่องจากเมื่อใส่ปุ๋ยชีวภาพเป็นเวลานานจะเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ได้มากขึ้นในดินซึ่ง
                   เป็นสิ่งส าคัญในการพิจารณาประสิทธิภาพของปุ๋ยชีวภาพคือจุลินทรีย์ที่อยู่ในปุ๋ยว่ายังคงมีชีวิตในระหว่างการ
                   ผลิต การขนส่งและเก็บรักษา ตลอดจนสามารถแสดงกิจกรรมส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชได้เมื่อน าไปใช้

                   งานในแปลงปลูกพืชจริง Brar et al. (2012) รายงานว่าปุ๋ยชีวภาพที่อยู่ในรูปน้ ามักจะมีอายุในการเก็บรักษา
                   ได้ยาวนานกว่าการเก็บในรูปแบบแห้ง ซึ่งเป็นการน าเอารูปแบบน้ ามาคลุกผสมกับสารตัวพาทั้งนี้ปุ๋ยน้ ามักมี
                   สารอาหารที่ช่วยปกป้องเซลล์และเหนี่ยวน าจุลินทรีย์ให้มีการสร้างสปอร์หรือซีสต์ซึ่งช่วยให้เก็บรักษาได้
                   ยาวนาน
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30