Page 17 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                            จากการจ าแนกดิน พบว่าดินในแปลงทดลองอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 4 ชุดดินชัยนาท ผลการวิเคราะห์

                   สมบัติทางเคมีดิน พบว่าดินก่อนการทดลองมีระดับความอุดมสมบูรณ์อยู่ในระดับต่ า โดยมีค่าความเป็นกรด
                   เป็นด่าง เท่ากับ 6.40 มีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ า
                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินอยู่ในระดับสูงมาก
                   คือ 1.39 เปอร์เซ็นต์ 303 และ 216 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ (ตารางที่ 3)
                            หลังการทดลองได้มีการเก็บตัวอย่างดินทุกแปลงที่ระดับความลึก 0 – 15 เซนติเมตร วิเคราะห์

                   สมบัติทางเคมีดิน พบว่า
                            1) ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน จากการทดลองพบว่า ความเป็นกรดเป็นด่างของดินเพิ่มขึ้น มี
                   ค่าอยู่ระหว่าง 7.33 – 7.77 ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติในทุกต ารับทดลอง โดยต ารับควบคุม (ต ารับ

                   ทดลองที่ 1) การใช้ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับทดลองที่ 2) ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน 7.77
                   และ 7.67 ตามล าดับ โดยการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า การใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า
                   ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ และการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับ
                   ทดลองที่ 3 4 และ 5) ความเป็นกรดเป็นด่างของดินเท่ากับ 7.57 7.43 และ 7.57 ตามล าดับ และต ารับ

                   ทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์
                   และใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 6 7 และ 8) ความเป็นกรด
                   เป็นด่างของดินเท่ากับ 7.50 7.53 และ 7.33 ตามล าดับ การใช้ดังตารางที่ 3
                            2) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน จากการทดลองพบว่า อินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ้น มีค่าอยู่ระหว่าง

                   1.36 - 1.83 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติในทุกต ารับทดลอง ยกเว้นต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์
                   ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 8) มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ าสุด 1.36
                   เปอร์เซ็นต์ และพบว่าต ารับควบคุม (ต ารับทดลองที่ 1) ปริมาณอินทรียวัตถุสูงสุด มีปริมาณอินทรียวัตถุ 1.82
                   เปอร์เซ็นต์ โดยต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง และใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง

                   ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 6 และ 7) มีอินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ้น โดยปริมาณอินทรียวัตถุ
                   1.67 และ 1.50 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ มากกว่าต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าและใช้
                   ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 3 และ 4) มีปริมาณ

                   อินทรียวัตถุในดิน 1.58 และ1.44 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ การใช้ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับ
                   ทดลองที่ 2) ต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 5)
                   มีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน 1.66 และ1.67 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ดังตารางที่ 3
                            3) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน จากการทดลองพบว่า ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
                   ประโยชน์ในดินไม่มีความแตกต่างทางสถิติในทุกต ารับทดลอง โดยมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน

                   อยู่ในช่วง 242.33 – 295.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม น้อยกว่าดินก่อนการทดลอง ซึ่งมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
                   ประโยชน์ในดิน 303.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ย
                   ชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ และใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70

                   เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 6 7 และ 8) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินสูงกว่าการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ย
                   ชีวภาพรูปแบบน้ า มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน 295.00 283.00 และ 291.67 มิลลิกรัมต่อ
                   กิโลกรัม ตามล าดับ การใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าร่วมกับ
                   ปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ และใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 3

                   4 และ 5) มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน 272.33 242.33 และ 244.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
                   ตามล าดับ ต ารับควบคุม (ต ารับทดลองที่ 1) และการใช้ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน (ต ารับทดลองที่ 2) มี
                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน 265.67 และ 249.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ ดังตารางที่ 3
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22