Page 14 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                   วิธีการ

                   1. ศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีดิน การ
                   เจริญเติบโตและผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว
                          1. ศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวไม่
                   ไวแสงในดินเหนียว
                            1.1  วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ randomized  complete  block  design

                   (RCBD) จ านวน 8 ต ารับการทดลอง 3 ซ้ า ได้แก่
                                 ต ารับทดลองที่ 1  ควบคุม
                                 ต ารับทดลองที่ 2  ปุ๋ยเคมี อัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน

                                 ต ารับทดลองที่ 3  ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า
                                 ต ารับทดลองที่ 4  ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50%
                                 ต ารับทดลองที่ 5  ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70%
                                 ต ารับทดลองที่ 6  ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง

                                 ต ารับทดลองที่ 7  ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50%
                                 ต ารับทดลองที่ 8  ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง+ ปุ๋ยเคมี 70%
                            1.2  ขั้นตอนการด าเนินงาน
                                 1.2.1 คัดเลือกพื้นที่แปลงทดลองที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ด าเนินการในพื้นที่แปลง

                   เกษตรกร ต าบลบางงาม อ าเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี พื้นที่เป็นกลุ่มชุดดินที่ 4 ชุดดินชัยนาท เนื้อ
                   ดินเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งหรือดินเหนียว มีปฏิกิริยาดินอยู่ในช่วงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 6.4)
                          ลักษณะของชุดดิน ชัยนาท (Cn)
                          การจ าแนกดิน (USDA)  Fine, mixed, active, nonacid, isohyperthermic Aeric (Vertic)

                                               Endoaquepts
                          สภาพพื้นที่           ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0 – 2 %
                          ภูมิสัณฐาน            ที่ราบน้ าท่วมถึง

                          วัตถุต้นก าเนิดดิน    ที่ตะกอนน าพา
                          การระบายน้ า          ค่อนข้างเลวถึงเลว
                          การซึมผ่านได้ของน้ า   ช้า
                          การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน     ช้า
                          ลักษณะสมบัติของดิน           เป็นดินลุก ดินบนเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งหรือดิน

                                                       เหนียว สีผสมของสีน้ าตาลปนเทาเขมกับสีเทาเขม มีจุดประสี
                                                       น้ าตาลปนเหลืองเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดาง
                                                       ปานกลาง (pH 6.5 - 8.0) พบรอยไถล และหนาอัดมันในดิน

                                                       ลาง ในฤดูแลงหนาดินจะแตกระแหง ดินลางเนื้อดินเปนดิน
                                                       เหนียว สีผสมของสีเทากับสีน้ าตาลปนเหลืองเขมถึงสีเทา
                                                       ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0 - 8.0)
                          ขอจ ากัด                     มีน้ าทวมขังในฤดูฝนนาน

                          ข้อเสนอแนะ                   ควรเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินดวยการปรับปรุงบ ารุงดิน โดย
                                                       ใชปุยอินทรีย และปุ๋ยเคมีในอัตราที่เหมาะสม หลังฤดูการท านา
                                                       ควรปลูกพืชอายุสั้นหรือพืชปรับปรุงดิน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19