Page 35 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       29


                   บริเวณ Toeslope ซึ่งเปนพื้นที่ต่ําที่สุด แสดงวา มีการสะสมของความเขนขนของประจุธาตุอาหารพืชมากที่สุด
                   เชนกัน โดยอาจเกิดจากการเคลื่อนยาย พัดพาธาตุอาหารลงสูพื้นที่ต่ํากวาโดยไมมีสิ่งใดขวางกั้นเลย ซึ่งแตกตาง
                   จากพื้นที่ปายางพารา  และ พื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  จะมีคา pH สูงที่สุด ณ บริเวณ Footslope
                   ไปจนถึง บริเวณ Backslope แสดงวา การปกคลุมดินดวยพืชหรือแนวหญาแฝก สามารถชะลอการสูญเสียความ

                   อุดมสมบูรณของดินได เพราะ คา pH จะแสดงถึงความอุดมสมบูรณของธาตุอาหารพืชได กลาวคือ คา pH ที่
                   สูงขึ้น หมายถึง ความสามารถในการปลดปลอยธาตุอาหารในรูปที่เปนประโยชนตอพืชสูงขึ้นตามไปดวย (ภาพที่
                   14)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40