Page 34 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 34
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
28
พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน สามารถ
เรียงลําดับคาเฉลี่ย pH จากทุกระดับความลึกตามประเภทความลาดชันจากคาสูงสุดไปต่ําสุดได คือ Footslope >
Toeslope > Summit > Shoulder > Backslope ตามลําดับ พบคาเฉลี่ย pH สูงสุด ณ ตําแหนง Footslope
(เทากับ 5.85 5.69 และ 5.57 ที่ระดับความลึก 0 - 10 10 – 20 และ 20 – 30 เซนติเมตร ตามลําดับ)
ตารางที่ 5 คาเฉลี่ยความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม)
ความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
ระดับความลึกของดิน (1:1)
(เซนติเมตร) Toeslope Footslope Backslope Shoulder Summit คาเฉลี่ย
(TS) (FS) (BS) (SH) (SU) (Mean)
(1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
0 - 10 5.28 5.17 5.09 4.98 5.15 5.135
10 – 20 5.15 5.12 4.97 4.96 5.06 5.052
20 – 30 5.18 5.03 4.98 4.96 4.98 5.025
คาเฉลี่ย (Mean) 5.203 5.110 5.012 4.964 5.063 5.071
(2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
0 - 10 5.08 4.93 4.87 5.13 5.02 5.003
10 – 20 4.93 5.26 5.18 5.09 5.20 5.130
20 – 30 5.17 5.17 5.20 5.07 4.97 5.118
คาเฉลี่ย (Mean) 5.060 5.119 5.084 5.096 5.060 5.084
(3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
0 - 10 5.97 5.85 5.72 5.85 6.07 5.891
10 – 20 6.05 5.69 5.65 5.66 5.77 5.763
20 – 30 5.72 5.57 5.68 5.75 5.84 5.711
คาเฉลี่ย (Mean) 5.914 5.702 5.683 5.751 5.891 5.788
จากผลขอมูลคาเฉลี่ยความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) ทุกชวงเวลา สามารถวิจารณไดวา การจัดการ
ดินและที่ดินมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของคา pH อยางมีนัยสําคัญ กลาวคือ พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการ
จัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน มีคา pH โดยเฉลี่ยสูงกวาพื้นที่อื่น ๆ โดยอยูในชวง
ของความเปนกรดเล็กนอยถึงปานกลาง ซึ่งเกิดจากการจัดการดินและปุยที่เหมาะสม ในขณะที่พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมี
การจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา ที่เกษตรกรมักจะปลอยหนาดินโลงในชวงที่ยังไมไดเพาะปลูกพืช พบวาคา pH
อยูในชวงความเปนกรดจัดไปจนถึงความเปนกรดรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นจากการสูญเสียความอุดมสมบูรณของดินโดย
ธรรมชาติและการจัดการดินที่ไมเหมาะสมโดยมนุษย ดังจะเห็นไดจากการที่พื้นที่ปายางพารา ที่ปลูกมามากกวา
5 ป และไมมีการรบกวนหนาดินใด ๆ พบวามีชวงของคา pH ที่ใกลเคียงกับ พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบ
อนุรักษดินและน้ํา ดวยเหตุนี้ การปรับปรุงบํารุงดินเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินอยางถูกวิธีจึงตองหมั่น
ดําเนินการเพื่อคงสภาพสําหรับการเพาะปลูกพืชไวอยูเสมอ
เมื่อสังเกตที่ความสูงต่ําของพื้นที่หรือประเภทของความลาดชันจะพบวา พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการ
จัดระบบอนุรักษดินและน้ํา มีคา pH ในชวงของพื้นที่ดานบนมากกวาพื้นที่ดานลาง เนื่องจาก พื้นที่บริเวณ
Summit หรือ Shoulder จะเปนพื้นที่เหนือขึ้นไปที่มีความลาดชันสูงที่สุด สงผลใหเกิดการชะลางความอุดม
สมบูรณของดินไปมากกวาบริเวณอื่น โดยพื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา จะมีคา pH สูงสุด