Page 38 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       32


                   ตามลําดับ และพื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  มีคาเฉลี่ย EC เทากับ 0.056 0.033 และ 0.023 ที่ระดับ
                   ความลึก 0 - 10 10 – 20 และ 20 – 30 เซนติเมตร ตามลําดับ

                          คาเฉลี่ย EC เมื่อเปรียบเทียบกับประเภทของความลาดชัน พบวา พื้นที่ที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดิน
                   และน้ํา  มีคาเฉลี่ย EC สูงสุด ณ บริเวณ Shoulder และ Summit พื้นที่ปายางพารา  มีคาเฉลี่ย EC สูงสุด ณ
                   บริเวณ Shoulder และ Footslope และพื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  มีคาเฉลี่ย EC สูงสุด ณ บริเวณ
                   Backslope และ Shoulder


                   ตารางที่ 7 คาเฉลี่ยคาการนําไฟฟาของดิน (EC) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน)
                                                                 คาการนําไฟฟาของดิน (EC)
                     ระดับความลึกของดิน                                  (dS/m)
                         (เซนติเมตร)     Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย

                                            (TS)        (FS)       (BS)        (SH)      (SU)    (Mean)
                    (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                    0 - 10                    0.017      0.017       0.020       0.037    0.037  0.025a
                    10 – 20                   0.017      0.013       0.010       0.010    0.017  0.013b
                    20 – 30                   0.010      0.010       0.010       0.010    0.013  0.011b
                    คาเฉลี่ย(Mean)        0.014bc      0.013c      0.013c    0.019ab    0.022a   0.016b
                    (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)

                    0 - 10                    0.010      0.020       0.013       0.020    0.017  0.016a
                    10 – 20                   0.010      0.010       0.010       0.013    0.010  0.011b
                    20 – 30                   0.010      0.010       0.010       0.010    0.010  0.010b
                    คาเฉลี่ย(Mean)         0.010b      0.013a      0.011b      0.014a   0.012b  0.012b

                    (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                    0 - 10                    0.053      0.030       0.100       0.050    0.047  0.056a
                    10 – 20                   0.023      0.020       0.057       0.040    0.027  0.033b
                    20 – 30                   0.013      0.017       0.027       0.040    0.017  0.023c
                    คาเฉลี่ย(Mean)          0.030a     0.022a      0.061c     0.043b    0.030a  0.037a


                          คาเฉลี่ยของคาการนําไฟฟา (EC) เก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) ดังที่แสดงในตารางที่ 8 พบวา
                   พื้นที่ศึกษา และประเภทของความลาดชัน มีความแตกตางกันของคา EC อยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ
                   ความเชื่อมั่น 0.01 และปจจัยดานระดับความลึกของดิน มีความแตกตางกันของคา EC อยางมีนัยยะสําคัญทาง

                   สถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05
                          เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ย EC กับพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง พบวา พื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   มีคาเฉลี่ย EC สูงที่สุด เทากับ 0.040 รองลงมาคือ พื้นที่ที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  มีคาเฉลี่ย EC
                   เทากับ 0.015 และพื้นที่ปายางพารา  มีคาเฉลี่ย EC เทากับ 0.014 ตามลําดับ

                          ในขณะที่คาเฉลี่ย EC เปรียบเทียบกับระดับความลึกของดิน พบวา ยิ่งระดับความลึกของดินมากขึ้น จะ
                   ผกผันกับคา EC ที่จะลดลง เฉพาะพื้นที่ที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  เทานั้น คือ มีคาเฉลี่ย EC เทากับ
                   0.018 0.015 และ 0.013 ที่ระดับความลึก 0 - 10 10 – 20 และ 20 – 30 เซนติเมตร ตามลําดับ โดยพื้นที่ศึกษา
                   ทั้งพื้นที่ปายางพารา  และ พื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  มีคาเฉลี่ย EC สูงสุด ในระดับความลึกของ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43