Page 32 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       26


                   ตารางที่ 3 คาเฉลี่ยความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน)
                                                              ความเปนกรดเปนดางของดิน (pH)
                    ระดับความลึกของดิน                                    (1:1)

                        (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย
                                           (TS)        (FS)        (BS)        (SH)       (SU)    (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   0 - 10                  5.72        5.57        5.68        5.75       5.84     5.711
                   10 – 20                 4.91        4.77        4.73        4.58       4.61     4.719
                   20 – 30                 5.10        4.90        4.94        4.82       4.90     4.932
                   คาเฉลี่ย (Mean)       5.244        5.080       5.116       5.049      5.114    5.121

                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10                  4.98        5.01        5.07        5.08       5.00     5.030
                   10 – 20                 4.96        5.06        5.17        5.08       5.10     5.075
                   20 – 30                 4.89        5.00        5.15        5.01       4.96     5.001

                   คาเฉลี่ย (Mean)       4.944        5.024       5.130       5.058      5.019    5.035
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10                  5.67        5.86        5.65        5.62       5.54     5.668
                   10 – 20                 5.70        5.81        5.74        5.67       5.67     5.718
                   20 – 30                 5.63        5.94        5.80        5.57       5.72     5.731
                   คาเฉลี่ย (Mean)       5.668        5.870       5.728       5.620      5.642    5.706


                          คาเฉลี่ยของคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) พบวา
                   พื้นที่ทดลองทั้งสามแหลงมีความแตกตางกันของคา pH อยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01

                   กลาวคือ พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  พบวามีคาเฉลี่ย pH นอยที่สุด (pH มีคาเทากับ
                   4.98) รองลงมาคือ พื้นที่ปายางพาราที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  ที่สุด (pH มีคาเทากับ 5.13) และพื้นที่ปลูกพืช
                   ของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน  มีคาเฉลี่ย pH สูงที่สุด เทากับ
                   5.74
                          จากขอมูลในตารางที่ 4 พบวาคาเฉลี่ย pH เมื่อเปรียบเทียบกับประเภทของความลาดชันและระดับ

                   ความลึก ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ซึ่งอธิบายแยกตามพื้นที่ศึกษาได ดังนี้
                          พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  สามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ย pH จากทุกระดับความ
                   ลึกตามประเภทความลาดชันจากคาสูงสุดไปต่ําสุดได คือ Toeslope > Footslope > Backslope > Summit >
                   Shoulder ตามลําดับ โดยที่บริเวณ Toeslope ซึ่งเปนตําแหนงต่ําที่สุด มีคาเฉลี่ย pH สูงที่สุด (เทากับ 5.25 5.19

                   และ 5.30 ที่ระดับความลึก 0 - 10 10 – 20 และ 20 – 30 เซนติเมตร ตามลําดับ)
                          พื้นที่ปายางพาราที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  สามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ย pH จากทุกระดับความลึกตาม
                   ประเภทความลาดชันจากคาสูงสุดไปต่ําสุดได คือ Backslope > Footslope > Summit > Shoulder >
                   Toeslope ตามลําดับ พบคาเฉลี่ย pH สูงสุด ณ ตําแหนง Backslope (เทากับ 5.28 5.23 และ 5.15 ที่ระดับ
                   ความลึก 0 - 10 10 – 20 และ 20 – 30 เซนติเมตร ตามลําดับ)

                          พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน  สามารถ
                   เรียงลําดับคาเฉลี่ย pH จากทุกระดับความลึกตามประเภทความลาดชันจากคาสูงสุดไปต่ําสุดได คือ Footslope >
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37