Page 37 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 37
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
31
1.2 คาการนําไฟฟาของดิน (EC)
ตารางที่ 6 แสดงคาเฉลี่ยของคาการนําไฟฟา (EC) เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) พบวา พื้นที่ศึกษา
ที่มีการจัดการดินที่แตกตางกันและระดับความลึกของดิน มีความแตกตางกันของคา EC อยางมีนัยยะสําคัญทาง
สถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01 กลาวคือ พื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา มีปริมาณคาเฉลี่ย EC สูงที่สุด
มีคาเฉลี่ย EC เทากับ 0.042 รองลงมาคือ พื้นที่ที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา มีคาเฉลี่ย EC เทากับ
0.031 และ พื้นที่ปายางพารา มีคาเฉลี่ย EC เทากับ 0.022 ตามลําดับ ในขณะที่คาเฉลี่ย EC เมื่อเทียบกับ
บริเวณพื้นที่ในแตละประเภทของความลาดชัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ
ตารางที่ 6 คาเฉลี่ยคาการนําไฟฟาของดิน (EC) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน)
คาการนําไฟฟาของดิน (EC)
ระดับความลึกของดิน (dS/m)
(เซนติเมตร) Toeslope Footslope Backslope Shoulder Summit คาเฉลี่ย
(TS) (FS) (BS) (SH) (SU) (Mean)
(1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
0 - 10 0.047 0.043 0.050 0.040 0.050 0.046
10 – 20 0.030 0.027 0.023 0.027 0.027 0.027
20 – 30 0.020 0.020 0.020 0.020 0.023 0.021
คาเฉลี่ย(Mean) 0.032 0.030 0.031 0.029 0.033 0.031b
(2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
0 - 10 0.023 0.030 0.023 0.027 0.023 0.025
10 – 20 0.020 0.020 0.020 0.020 0.020 0.020
20 – 30 0.020 0.020 0.020 0.020 0.020 0.020
คาเฉลี่ย(Mean) 0.021 0.023 0.021 0.022 0.021 0.022c
(3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
0 - 10 0.060 0.043 0.070 0.053 0.057 0.057
10 – 20 0.037 0.033 0.043 0.043 0.030 0.037
20 – 30 0.023 0.033 0.033 0.033 0.030 0.031
คาเฉลี่ย(Mean) 0.040 0.037 0.049 0.043 0.039 0.042a
คาเฉลี่ยของคาการนําไฟฟา (EC) เก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) ดังที่แสดงในตารางที่ 7 พบวา
พื้นที่ศึกษา ระดับความลึกของดิน และประเภทของความลาดชัน มีความแตกตางกันของคา EC อยางมีนัยยะ
สําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01
เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ย EC กับพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง พบวา พื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
มีคาเฉลี่ย EC สูงที่สุด เทากับ 0.037 รองลงมาคือ พื้นที่ที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา มีคาเฉลี่ย EC
เทากับ 0.016 และพื้นที่ปายางพารา มีคาเฉลี่ย EC เทากับ 0.012 ตามลําดับ
ในขณะที่คาเฉลี่ย EC เปรียบเทียบกับระดับความลึกของดิน พบวา ยิ่งระดับความลึกของดินมากขึ้น จะ
ผกผันกับคา EC ที่จะลดลง กลาวคือ พื้นที่ที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา มีคาเฉลี่ย EC เทากับ 0.025
0.013 และ 0.011 ที่ระดับความลึก 0 - 10 10 – 20 และ 20 – 30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพารา มี
คาเฉลี่ย EC เทากับ 0.016 0.011 และ 0.010 ที่ระดับความลึก 0 - 10 10 – 20 และ 20 – 30 เซนติเมตร