Page 39 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       33


                   ดิน เทากับ 10 – 20 เซนติเมตร โดยมีคาเฉลี่ย EC เทากับ 0.013 0.016 และ 0.013 และมีคาเฉลี่ย EC เทากับ
                   0.026 0.053 และ 0.042 ที่ระดับความลึก 0 - 10 10 – 20 และ 20 – 30 เซนติเมตร ตามลําดับ

                          คาเฉลี่ย EC เมื่อเปรียบเทียบกับประเภทของความลาดชัน พบวา พื้นที่ที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดิน
                   และน้ํา  และพื้นที่ปายางพารา  มีคาเฉลี่ย EC สูงสุด ณ บริเวณ Toeslope และพื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดิน
                   และน้ํา  มีคาเฉลี่ย EC สูงสุด ณ บริเวณ Footslope


                   ตารางที่ 8 คาเฉลี่ยคาการนําไฟฟาของดิน (EC) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม)
                                                                 คาการนําไฟฟาของดิน (EC)
                     ระดับความลึกของดิน                                  (dS/m)
                        (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย
                                            (TS)       (FS)        (BS)        (SH)      (SU)    (Mean)

                    (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                    0 - 10                 0.020       0.020       0.017      0.017      0.017    0.018a
                    10 – 20                0.020       0.017       0.017      0.010      0.013    0.015b
                    20 – 30                0.020       0.013       0.010      0.010      0.010    0.013b
                    คาเฉลี่ย(Mean)       0.020ab     0.017b      0.014b      0.012b    0.013b  0.015b
                    (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)

                    0 - 10                 0.013       0.010       0.010      0.017      0.013    0.013b
                    10 – 20                0.017       0.020       0.013      0.010      0.020    0.016a
                    20 – 30                0.017       0.013       0.017      0.010      0.010    0.013b
                    คาเฉลี่ย(Mean)        0.016a     0.014a      0.013a      0.012a    0.014a  0.014b
                    (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน

                    0 - 10                 0.033       0.020       0.017      0.030      0.030    0.026c
                    10 – 20                0.023       0.070       0.067      0.050      0.057    0.053a
                    20 – 30                0.047       0.053       0.040      0.037      0.033    0.042b
                    คาเฉลี่ย(Mean)        0.034b     0.048a      0.041ab     0.039b    0.040ab  0.040a


                          จากผลขอมูลคาเฉลี่ยการนําไฟฟาของดิน (EC) ทุกชวงเวลา สามารถวิจารณไดวา คาการนําไฟฟาของ
                   ดิน (EC) คือการวัดวาความสามารถของการนําไฟฟาหรือสงผานไฟฟาของสารหรือสสารในดิน โดยเฉพาะ
                                                                   + +
                                                                            2+
                   สารละลายธาตุอาหารพืชที่ประกอบดวยประจุบวก เชน (NH4)  K  Ca  Fe  Mn  หรือ Zn  และประจุลบ เชน
                                                                                 2+
                                                                                         2+
                                                                         +
                                      2-
                                           3-
                                                  2
                        -
                                                                      -
                               -
                                                           -
                                                     -
                   (NO 3)  (H 2PO 4) , (HPO 4) , PO  (SO 4)  Cl (BO 3)  หรือ (MoO 4)  เปนตน กลาวคือ คา EC แสดงถึงปริมาณ
                   สารอาหารหรือแรธาตุที่ละลายอยูในดิน ถาในดินนั้น ๆ มีคา EC สูง อาจหมายถึง การมีปริมาณธาตุอาหารพืชใน
                   ดินสูงตามไปดวย
                          พื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลงนี้มีลักษณะเปนดินตื้น มีความลาดชันสลับซับซอนตางกันไป ยอมหมายความวา
                   ไมมีการสะสมของปริมาณสารละลายเกลือหรือปริมาณสารละลายกํามะถัน ที่อาจใหเกิดการรบกวนหรือการ
                   ตีความคา EC ผิดพลาดไป ดังนั้น ความแตกตางของคา EC จึงขึ้นอยูกับการจัดการธาตุอาหารพืชของเกษตรกรใน
                   พื้นที่ศึกษษทั้งสามแหลงนี้
                          ตารางที่ 6 7 และ 8 แสดงความแตกตางกันอยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติของคา EC ในพื้นที่ศึกษา
                   ประเภทความลาดชัน และระดับความลึกของดิน เมื่อเปรียบเทียบกันใน 3 ชวงระยะเวลาของการเก็บขอมูล
                   กลาวคือ เมื่อเปรียบเทียบคา EC กับพื้นที่ศึกษา พบวา เมื่อเรียงลําดับพื้นที่ศึกษาตามคา EC จากมากไปหานอย
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44