Page 21 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       15
































                   ที่มา: Zupanc and Mabit, 2010
                                                                          137
                                                                               7
                                                                                       210
                               ภาพที่ 9 ที่มาหรือกระบวนการเกิดนิวไคลดกัมมันตรังสี ( Cs,  Be, และ  Pbex)

                          นิวไคลดกัมมันตรังสี ที่เกิดจากรังสีพื้นหลัง (background radiation) หรือรังสีจากสิ่งแวดลอมซึ่งมีที่มา
                   จากหลายแหลง เชน รังสีคอสมิกจากอวกาศ รังสีจากสารกัมมันตรังสีตามธรรมชาติที่มีอยูในดิน น้ํา อากาศ
                   อาหาร  รวมทั้งที่มีอยูในรางกายมนุษย นั้น มีปริมารการแพรกระจายในปริมารที่นอย เมื่อเทียบกับการ
                   แพรกระจายของนิวไคลดที่เกิดจากจากการทดลองอาวุธนิวเคลียรความรอน จากภาพที่ 9 สามารถอธิบายไดวา
                   การกําเนิดนิวไคลดกัมมันตรังสีจากแหลงที่มาตาง ๆ ทั้งจากการทดลองระเบิดนิวเคลียร จากรังสีคอสมิกใน
                   อวกาศ หรือ ในธรณีสัรฐานใตเปลือกโลก จะเริ่มตนโดยธาตุกัมมันตรังสีที่นิวเคลียสของอะตอมอยูในสถานะที่ไม
                                   226
                          137
                               7
                   เสถียร ( Cs,  Be,  Ra) โดยกฎของฟสิกสนิวเคลียร กลาวไววา ธาตุกัมมันตรังสีตาง ๆ จะปลดปลอยรังสี
                   แกมมา อัลฟา และ/หรือเบตา จนกวาธาตุนั้นจะอยูในสถานะที่เสถียรตามธรรมชาติ และจะปรากฎธาตุใหม
                   เกิดขึ้นหลังจากที่ไดแผรังสีแอลฟา หรือรังสีบีตาเสมอ กลาวคือ ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งจะสลายตัวเกิดธาตุใหม
                   ไดนั้น หากธาตุใหมเปนธาตุกัมมันตรังสี (นิวเคลียสไมเสถียร) ก็จะสลายตัวตอไปอีกเรื่อย ๆ จนกวาจะเกิดธาตุใหม
                   ที่มีนิวเคลียสที่เสถียร ซึ่งขอความขางตนสอดคลองกับสมมติฐานของรัทเทอรฟอรดและซอดดี (Rutherford and
                   Soddy 's law for radioactive decay 1902) ที่สรุปได ดังนี้
                          1. ธาตุกัมมันตรังสีจะสลายใหธาตุใหมเสมอ โดยปลอยอนุภาคแอลฟา อนุภาคเบตา ซึ่งธาตุใหมที่ไดจะมี
                   สมบัติทางเคมีตางไปจากธาตุเดิม และธาตุใหมอาจเปนธาตุกัมมันตรังสีก็ได
                          2. การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี จะไมขึ้นกับปจจัยสภาพแวดลอมภายนอกนิวเคลียส เชน อุณหภูมิ

                   หรือความดัน เปนตน แตทุกนิวเคลียสจะมีโอกาสในการสลายตัวไดเทา ๆ กัน แตบอกไมไดวานิวเคลียสใดสลาย
                   กอนหรือหลัง
                          ดวยเหตุนี้ การคัดเลือกนิวไคลดกัมมันตรังสีที่มีความเสถียร หรือ นิวไคลดกัมมันตรังสีที่ยังไมเสถียร แตมี
                   คาครึ่งชีวิตที่ยาวนาน และอยูในชวงทายของอนุกรมการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี จึงมักจะถูกนํามาใชใน
                   การศึกษาปริมาณการชะลางพังทลายของดิน
                                             137
                          แมวา ธาตุซีเซียม 137 ( Cs) จะถูกนํามาใชศึกษาในดานการชะลางหรือทับถมของตะกอนดินอยาง
                   แพรหลาย โดยเฉพาะงานวิจัยทางดานเกษตรกรรม สิ่งแวดลอม และสาธารณสุข สืบเนื่องมาจากการที่มีปริมาณ
                   ของนิวไคลดของธาตุซีเซียมแพรกระจายจากชั้นบรรยากาศโลกลงสูในหวงโซอาหารเปนจํานวนมาก ซึ่งเปนผลมา
                   จากการทดลองระเบิดนิวเคลียรในชวงทศวรรษที่ 60 และจากกรณีของโรงไฟฟาเชอรโนบิลระเบิดในป ค.ศ.
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26