Page 20 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       14


                   2.2 การใชเทคนิคทางนิวเคลียรไอโซโทปเพื่อการประเมินคุณภาพของดินและการสูญเสียหนาดินในพื้นที่ลาด
                   ชัน
                          ไอโซโทป (Isotope) คืออะตอมตาง ๆ ของธาตุชนิดเดียวกัน ที่มีจํานวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเทากัน
                   แตมีจํานวนนิวตรอนตางกัน สงผลใหเลขมวลตางกันดวย และเรียกเปนไอโซโทปของธาตุนั้น ๆ โดยจะมีสมบัติ

                   ทางเคมี และฟสิกสที่เหมือนกัน ยกเวนสมบัติทางนิวเคลียรที่เกี่ยวกับมวลอะตอม ธาตุที่มีลักษณะเปนธาตุ
                   ไอโซโทป ไดแก ธาตุยูเรเนียม (Uranium; U) มี 2 ไอโซโทป คือ ยูเรเนียม-235 เปนไอโซโทปที่แผรังสี และ
                   ยูเรเนียม-238 เปนไอโซโทปที่ไมแผรังสี หรือ าตุซีเซียม (Caesium; Cs) ที่พบในธรรมชาติ คือ ซีเซียม-133 สวน
                   ซีเซียมไอโซโทบที่เสถียร ไดแก ซีเซียม-134 และ ซีเซียม-137 เปนตน
                          การศึกษาเทคนิคทางนิวเคลียรเพื่อนํามาใชในการประเมินติดตามการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่
                   เกษตรกรรม ไดมีการศึกษา วิจัยอยางแพรหลาย โดยเฉพาะในตางประเทศ ที่จะใชการติดตามปริมาณของกากนิว
                   ไคลดกัมมันตรังสี (fallout radionuclides : FRNs) ที่กระจายอยูตามสิ่งแวดลอม เนื่องจาก กากนิวไคลด
                   กัมมันตรังสี จะสามารถถูกเคลื่อนยายจากที่หนึ่งไปสูอีกที่หนึ่งไดในทุกสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ เพราะ กาก
                   นิวไคลดกัมมันตรังสี สามารถอาศัยอยูในชั้นบรรยากาศ ชั้นดิน ชั้นหิน หรือแหลงน้ําไดอยางอิสระ ดวยเหตุนี้ จึง

                   ทําใหการติดตามและประเมินปริมาณกากนิวไคลดกัมมันตรังสีสามารถใชในการศึกษาปริมาณการชะลางพังทลาย
                   ของดินหรือการสุญเสียหนาดินได และเพื่อที่จะทําใหเขาใจในเรื่องการใชธาตุไอโซโทปเพื่อการประเมินคุณภาพ
                   ของดินและการสูญเสียหนาดินในพื้นที่ลาดชันใหมากขึ้นนั้น จึงจําเปนตองอธิบายในเรื่องของ นิวไคลด
                   กัมมันตรังสี ใหมากขึ้น
                          นิวไคลดกัมมันตรังสี หรือ ไอโซโทปกัมมันตรังสี คือ อะตอมของธาตุที่ไมเสถียร กอใหเกิดการสลายตัว
                   ของอะตอมดังกลาว จึงทําใหเกิดพลังงานภายในนิวเคลียสของอะตอมที่สูงมาก จนสามารถปลดปลอยอนุภาค
                   กัมมันตรังสี เพื่อใหนิวเคลียสของอะตอมกลับไปสูสภาวะที่เสถียรอีกครั้ง กระบวนการปลดปลอยพลังงานอนุภาค

                   ของอะตอมนี้จะเรียกวา นิวไคลดกัมมันตรังสี ที่กําลังเกิดการสลายตัวและใหกัมมันตรังสีออกมา ซึ่งรังสีที่
                   ปลดปลอยออกมานั้น ไดแกรังสีแกมมา และ/หรือ อนุภาคยอยของอะตอม เชน อนุภาคอัลฟา หรืออนุภาคบีตา
                   เปนตน ที่มาหรือกระบวนการเกิดนิวไคลดกัมมันตรังสีสามารถเกิดขึ้นได อาทิ
                          1) เกิดจากจากการทดลองอาวุธนิวเคลียรความรอน (thermonuclear weapon tests) ในป ค.ศ. 1950 -
                   1960 ไดแก ซีเซียม 137 ( Cs)
                                       137
                                                                                           210
                          2) นิวไคลดกัมมันตรังสีที่เกิดทางธรณี (geogenic radioisotopes) ไดแก ตะกั่ว 137 ( Pb)
                                                                                                    7
                          3) นิวไคลดกัมมันตรังสีที่เกิดจากรังสีคอสมิค (cosmogenic radioisotopes) ไดแก เบริลเลียม 7 ( Be)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25