Page 18 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       12


                   2. การประเมินคุณภาพของดินและการสูญเสียหนาดินในพื้นที่ลาดชันที่เสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดิน
                          คุณภาพของดิน (Soil quality) หมายถึง ศักยภาพของดินแตละชนิด ที่มีผลตอการผลิตพืชและสัตว โดย
                   ใหความสําคัญตอสิ่งแวดลอม แหลงที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต และความปลอดภัยตอมนุษย โดยไมสงผลถึงการ

                   เสื่อมโทรมของดินและมลภาวะตอสภาพแวดลอม (ปทมา วิตยากร, 2547; Arshad and Martin, 2002;
                   Gregorich andActon, 1995; Karlen et al., 1997) เพราะฉะนั้น คุณภาพของดิน จึงเปนพื้นฐานที่สําคัญตอการ
                   เพาะปลูกพืชทุกชนิด รวมไปถึงการรักษาธาตุอาหารพืชใหคงอยูดินใหนานที่สุด คือหลักพิจารณาที่เกษตรกรและ
                   นักวิทยาศาสตรทางดินจําเปนตองเขาใจ และนําองคความรูและเทคโนโลยีการจัดการดินใหมีศักยภาพสูงเพียงพอ
                   ตอการทําเกษตรกรรม ตามหลักปฐพีวิทยา ความอุดมสมบูรณของดินเพื่อการใชประโยชนที่ดินทางการเกษตรจะ
                   ประกอบดวยองคประกอบที่แบงตามคุณสมบัติของดิน ประกอบดวย สมบัติทางกายภาพของดิน สมบัติทางเคมี
                   ของดิน และสมบัติทางชีวภาพของดิน เพราะฉะนั้นหลักสําคัญของการประเมินคุณภาพของดิน จึงตองพิจารณา
                   จากปจจัยที่สามารถสงผลตอการเจริญเติบโตของพืชไดอยางเดนชัดที่สุด ซึ่งโดยทั่วไปแลว การประเมินศักยภาพ
                   ของดินในการใหธาตุอาหารแกพืช ดวยการประเมินระดับธาตุอาหารพืชในดินโดยตรง จะเปนการประเมิน
                   สถานภาพหรือคุณสมบัติที่สงผลหรือเกี่ยวของกับความอุดมสมบูรณของดินไดอยางเดนชัดที่สุด ดังนั้นการ

                   ประเมินธาตุอาหารพืชในดิน โดยเฉพาะธาตุอาหารหลัก (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม) และธาตุ
                   อาหารรอง (แคลเซียม แมกนีเซียม และกํามะถัน) ดวยวิธีการวิเคราะหตัวอยางดิน สามารถนํามาตีความถึง
                   ศักยภาพของดินในการใหธาตุอาหารพืช หรือปริมาณธาตุอาหารที่เพียงพอสําหรับพืชหนึ่ง ๆ ได (อรวรรณ,
                   2551) อยางไรก็ตาม พื้นที่สวนใหญ โดยเฉพาะพื้นที่ศึกษาในโครงการวิจัยนี้ จะมีลักษณะสภาพภูมิประเทศ หรือ
                   ความลาดเทที่ไมสม่ําเสมอ ดวยเหตุนี้ ปจจัยทางดานความสูงต่ําของพื้นที่จึงตองถูกพิจารณาในการประเมินดวย
                   เชนกัน
                          พื้นที่ลาดชัน คือ สภาพภูมิประเทศที่พบไดตามพื้นที่สูงของประเทศไทย ลักษณะทั่วไปจะเปนพื้นที่ภูเขา

                   หรือเทือกเขาสลับซ้ําซอนกันไป สงผลใหความลาดชันของพื้นที่มีชวงที่แตกตางกันไป ลักษณะและสมบัติของดินที่
                   พบไมแนนอน มีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติแตกตางกันไป
                   แลวแตชนิดของหินตนกําเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน กอนหิน หรือหินโผลกระจัดกระจายทั่วไป และเนื่องจาก
                   สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ซึ่งถือวายากตอการจัดการดูแลรักษาสําหรับการเกษตร ปญหาของพื้นที่ลาดชัน มัก
                   เกิดจากการชะลางพังทลายสูญเสียหนาดินอยางรุนแรง การขาดแคลนน้ํา และบางพื้นที่อาจพบชั้นหินพื้นหรือ
                   เศษหินกระจัดกระจายอยูบริเวณหนาดิน เปนตน
                          จากขอมูลขางตน การประเมินคุณภาพของดินและการสูญเสียหนาดินในพื้นที่ลาดชันที่เสี่ยงตอการชะ
                   ลางพังทลายของดิน จึงมีหลักพิจารณาและกระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้

                   2.1 การเก็บตัวอยางดินตามความลาดเทของพื้นที่ที่ไมสม่ําเสมอ
                          ความลาดเทหรือความลาดชันในพื้นที่เกษตรกรรม (Slope หรือ Slant) สงผลโดยตรงตอความยากงาย

                   ในการจัดการดิน น้ํา และธาตุอาหารพืช เนื่องจาก ความลาดเทจะสงอิทธิพลตอลักษณะและคุณสมบัติทาง
                   กายภาพของดิน อาทิ การเก็บกักน้ําของดิน การเคลื่อนที่ของน้ําในดิน การสะสมตะกอนดินหรือการสรางตัวของ
                   อนุภาคของดินที่ทําใหเกิดชั้นดิน และการสะสมของธาตุอาหารในดิน เปนตน คําจํากัดความของคําวาลาดเทหรือ
                   ความลาดชัน หมายถึง อัตราสวนของความตางในทางระดับระหวางจุดสองจุดกับระยะตามแนวนอนระหวางจุด
                   สองจุดนั้นมีความแตกตางกัน (ไพฑูรย, 2538)
                          เนื่องจากพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่ที่มีความลาดชัน มักมีสภาพภูมิประเทศที่ไมสม่ําเสมอ สงผลให
                   คุณภาพของดิน สมบัติของดิน และความเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดินมีความแตกตางกันตามไปดวย ดังนั้น
                   การกําหนดจุดเก็บตัวอยางดินหรือการกําหนดจุดที่จะสํารวจตามสภาพภูมิประเทศ จึงมีความสําคัญและ

                   จําเปนตองใชหลักวิชาการในการวางแผนและดําเนินการ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23