Page 23 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       17


                          11) แทลเลียม-210 มีอายุครึ่งชีวิต 1.32 นาที เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคบีตา กลายเปนตะกั่ว-
                   210
                          12) ตะกั่ว-210 มีอายุครึ่งชีวิต 22.3 ป เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคบีตา กลายเปนบิสมัท-210
                          13) บิสมัท-210 มีอายุครึ่งชีวิต 5 วัน เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคบีตา กลายเปนพอโลเนียม-210
                          14)พอโลเนียม-210  มีอายุครึ่งชีวิต 138 วัน เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคแอลฟาและรังสีแกมมา

                   กลายเปนตะกั่ว-206
                          15) ตะกั่ว-206 ซึ่งเปนไอโซโทปที่มีความเสถียรของตะกั่ว
                          จากขอมูลขางตน จะเห็นวา ตะกั่ว-210 มีอายุครึ่งชีวิตที่เหมาะสมสําหรับการศึกษาวิจัย เนื่องจาก
                   สามารถการระบุธาตุไอโซโทปไดอยางถูกตองแมนยําที่สุด เพราะธาตุอื่น ๆ มีการสลายตัวที่รวดเร็วเกินไป ทําให
                   ไมสามารถตรวจวัดธาตุนั้นๆ ไดทันเวลา
                          การศึกษาปริมาณการแพรกระจายหรือการเคลื่อนยายของมวลดิน (Soil redistribution rates) โดยใช
                   การกระจายการสะสมของตะกั่ว-210 ตามสภาพภูมิประเทศ สามารถทราบถึงอัตราและปริมาณการชะลาง
                   พังทลายของดินได กลาวคือ การใชตะกั่ว-210 สําหรับเปน radionuclide tracer มีความสัมพันธกับดินหรือ
                   ตะกอน และตองคัดเลือกพื้นที่ที่ไมมีการถูกรบกวนดวยกิจกรรมใดๆ ไวเปนพื้นที่อางอิง (reference sites) โดยที่

                   พื้นที่อางอิงนี้จําเปนตองเปนพื้นที่ที่ไมเกิดกระบวนการชะลางพังทลายหรือการทับถมของดินใดๆทั้งสิ้น  เมื่อนํา
                   ตัวอยางดินในพื้นที่อางอิงนี้ไปวิเคราะหหาปริมาณ  Pb Activity ตอดิน 1 กิโลกรัม มีหนวยเปน Bq/kg dw
                                                             210
                              210
                                                                                                   210
                   จากนั้นนําคา  Pb Activity ที่ไดนํามาคํานวณหาปริมาณตะกั่ว-210 ตอพื้นที่ เรียกวา inventory of  Pbs มี
                                2
                   หนวยเปน Bq/m  เพื่อนําไปเปรียบเทียบกับคา  Pbex Inventory ของดินในพื้นที่ศึกษา (local condition) กับ
                                                        210
                      210
                   คา  Pbs Inventory ของดินในตําแหนงอางอิง (reference) (Mabit et.al., 2008; Walling and Quine, 1993)
                          เพราะฉะนั้นความเปนไปไดของผลัพทธที่ได คือ
                                                                          210
                            210
                          1)  Pbex Inventory of local condition มีคาใกลเคียงกับ  Pbs Inventory of reference หมายถึง
                   บริเวณที่ศึกษาเปนจุดที่เสถียร (stable) หมายถึง ดินไมมีการเคลื่อนยายออกไปหรือการเคลื่อนยายของดินมาทับ
                   ถม
                              210
                                                                         210
                          2)  Pbex Inventory of local condition มีคานอยกวา  Pbs Inventory of reference หมายถึง
                   บริเวณที่ศึกษาเกิดการชะลางพังทลายของดิน
                                                                         210
                             210
                          3)  Pbex Inventory of local condition มีคามากกวา  Pbs Inventory of reference หมายถึง
                   บริเวณที่ศึกษาเกิดการเคลื่อนยายมาทับถมของตะกอนดิน
                          การประเมินอัตราการชะลางพังทลายของดินจากปริมาณซีเซียม 137 โดยใชแบบจําลองทาง
                   คณิตศาสตรในพื้นที่เกษตรที่มีการไถพรวนที่มีประสิทธภาพ คือ Mass Balance Model II (Walling et.al, 2014)
                   มีสมการและรายละเอียดคําอธิบาย ดังนี้

                                                 d(A)/dt = (1 - I’)I(t) – (λ + (PR/d))A(t)


                                                      2
                                 210
                   โดยที่   A(t) คือ  Pbex Inventory (Bq/m )
                                                                       210
                             t  คือ ชวงเวลาเริ่มตนที่มีการกระจายของ กากนิวไคลด  Pbex (yr)
                                                                2
                             R  คือ อัตราการชะลางพังทลายของดิน (kg/m /yr)
                                                                                                  2
                             d  คือ ความลึกของตะกอนดินที่มีการสะสม ซึ่งจะอางอิงถึงความลึกของชั้นไถพรวน (kg/m )
                             λ  คือ คาคงที่ของการสลายตัวของ  Pbex (yr) เทากับ 0.03114 yr
                                                        210
                                                                                                    2
                                                            210
                             I(t) คือ อัตราการสะสมของกากนิวไคลด  Pbex (annual deposition flux) ณ เวลา t (Bq/m /yr)
                                                      210
                               I’ คือ อัตราสวนของตะกอนดิน ( Pbex) ที่ถูกชะลางพังทลายกอนที่จะปะปนกับชั้นไถพรวน
                              P คือ คาปจจัยคงที่ของขนาดอนุภาค โดยที่ P = P’ = 1
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28