Page 26 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       20


                   วิธีการดําเนินงานโครงการวิจัย
                   1. การวางแผนการทดลองและการศึกษา คนควาวิธีการดําเนินการวิจัย
                          การศึกษาในครั้งนี้เปนศึกษาความเปนไปไดในการใชนิเคลียรเทคนิคในการประเมินอัตราการชะลาง
                   พังทลายเปรียบเทียบทั้งการทับถมของตะกอนดินและการสูยเสียหนาดิน รวมทั้งศึกษาผลกระทบจากการเกิดการ

                   ชะลางพังทลายดิน ไดแก การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพดินในพื้นที่ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                          1) การคัดเลือกพื้นที่ : ทําการคัดเลือกลุมน้ําขนาดเล็กที่เปนพื้นที่เกษตร มีความลาดชันสูง และมีวิกฤต
                   ตอการสูญเสียหนาดิน โดยมุงเปาหมายไปที่อําเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งประกอบดวยพื้นที่ปลูกพืชของ
                   เกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและนาที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน พื้นที่ที่ไมถูกรบกวนจากการทําเขต
                   กรรม และพื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา โดยไดประสานงานกับสถานีพัฒนาที่ดินกาญจนบุรี
                   และสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 จังหวัดราชบุรี
                          2) รวบรวมและจัดเตรียมขอมูล : ทําการรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับปจจัยที่มีผลตอการเกิดการชะลาง
                   พังทลายดินโดยน้ําฝน เชน อุณหภูมิ ปริมาณน้ําฝน ปริมาณความหนาแนนของฝน ขอมูลดิน ขอมูลการใช
                   ประโยชนที่ดิน แผนที่ชั้นความสูง เปนตน  จากนั้นนําขอมูลที่รวบรวมได เขาสูระบบเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

                   (GIS) เพื่อใชในการวิเคราะหเชิงพื้นที่ในรูปแบบของแผนที่ตอไป

                   2. การเก็บขอมูลภาคสนาม
                          ทฤษฎีเบื้องตนการนําเทคนิค Fallout Radio Nuclides : FRNs นํามาใชในการศึกษาการชะลางพังทลาย
                                                        210
                                                                                210
                   และการทับถมของตะกอนดินดวยนิวไคลดของ  Pbex คือการอนุมานวา เมื่อ Pbex ที่กระจายในบรรยากาศ
                                                                                                 210
                                   210
                   ตกลงบนผิวหนาดิน  Pbex จะตองมีการฟุงกระจายตกบนผิวดินอยางสม่ําเสมอ และ ดวยสมบัติของ  Pbex ที่
                   สามารถยึดติดหรือสะสมกับอนุภาคดินขนาดเล็กบนผิวหนาดินไดดี ดังนั้น การเก็บตัวอยางดินจึงตองครอบคลุม
                   ในทุกพื้นที่ โดยเฉพาะในทุกระดับความลาดชันของพื้นที่ทดลอง
                          การเก็บตัวอยางดิน : เปนการเก็บขอมูลเพื่อศึกษาดานปริมาณและคุณภาพของดินที่สูญเสียและการทับ

                   ถมในบางบริเวณ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                          การเก็บตัวอยางดิน: ทําการเก็บตัวอยางดินในพื้นที่ทดลอง 3 ประเภท คือ
                          (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                          (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                          (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31