Page 22 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       16


                   1986 ก็ตาม (Matisoff and Whiting, 2011; Ritchie and Ritchie, 2007) จึงทําใหสามารถตรวจวัดปริมาณของ
                   นิวไคลดของธาตุซีเซียมไดชัดเจนกวาธาตุอื่น ๆ อยางไรก็ตาม การใชนิวไคลดของธาตุตะกั่ว 210 ( Pb) ใน
                                                                                                  210
                                                      210
                   การศึกษาวิจัย ก็มีขอดีตาง ๆ มากมาย อาทิ  Pb สามารถตรวจวัดปริมาณและอัตราในการทับถมของตะกอน
                   ดินไดดีที่สุด เพราะดวยธรรมชาติของอนุกรรมการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ที่มีแหลงกําเนิดมาจากธาตุ

                              226
                   เรเดียม 226 ( Ra) ซึ่งมีที่มาจากธรณีสัณฐาน จึงทําใหเหมาะสมกับงานวิจัยทางดานวิทยาศาสตรทางดินมาก
                   ที่สุด (Robbins, 1978) นอกจากนี้ งานวิจัยของ Mabit et al. (2008) รายงานวา การเคลื่อนที่และการสะสมตัว
                                                                                                   210
                       210
                   ของ  Pb ในชั้นบรรยากาศโลกนั้น มีปริมาณสูงที่สุด เมื่อเทียบกับนิวไคลดของธาตุอื่น ๆ และพบวา  Pb ใน
                                                                                137
                                                                                         210
                   ชั้นดินและหิน สามารถเคลื่อนยายไดในแนวตั้ง โดยไมมีสิ่งรบกวน เชนเดียวกับ  Cs แตวา  Pb จะสะสมตัวอยู
                                                                                                     210
                   ในชั้นหนาดินมากที่สุด เพราะฉะนั้น Mabit et al. (2008) จึงสรุปไววา นิวไคลดของธาตุตะกั่ว 210 ( Pb)
                   สามารถนํามาใชในการศึกษาวิจัยดานการเคลื่อนยายของมวลดินหรือตะกอนดินไดดีเชนเดียวกับนิวไคลดของธาตุ
                              137
                                                     210
                   ซีเซียม 137 ( Cs) แตธาตุตะกั่ว 210 ( Pb) จะมีการสะสมของปริมาณกากกัมมันตรังสีอยางตอเนื่อง
                   (Continuous fallout) ทําใหสามารถศึกษาการชะลางพังทลายของดินไดใน 1 ฤดูกาลปลูก ซึ่งแตกตางจากนิว
                                         137
                   ไคลดของธาตุซีเซียม 137 ( Cs) ที่สามารถศึกษาการเคลื่อนยายของดินไดในระยะเวลาที่ยาวนานกวานั้น จึง
                   เหมาะกับ งานวิจัยดานธรณีวิทยาหรือสมุทธศาสตรมากกวา
                          ตะกั่ว-210 ( Pb) นับเปนเครื่องมือสําคัญที่ใชในการประเมินความแปรปรวนเชิงพื้นที่ของอัตราทับถม
                                   210
                                                                                              210
                   ของตะกอนดิน ในชวงระยะประมาณ 100 ป  Pb มีครึ่งชีวิตเทากับ 22.3 ป ในชั้นบรรยากาศ  Pb จากการ
                                                       210
                   สลายของธาตุเรดอน 222 ( Rn) และถูกขจัดออกจากชั้นบรรยากาศในรูปของฝุนกัมมันตรังสี (fallout) ในสภาพ
                                        222
                   แวดลอมทางทะเล Pb จะจับกับพื้นผิวของอนุภาคแขวนลอยและผสมรวมเขาเปนเนื้อเดียวกับตะกอนตกลงสูใต
                                 210
                   ทองทะเล (ขนิษฐา และคณะ, 2556) ในชั้นดิน อนุกรมการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีของธาตุตะกั่ว-210
                   ( Pbex) เริ่มตนจากการสลายตามธรรมชาติของยูเรเนียม-238 ในดิน ซึ่งจะเรียงลําดับอนุกรมไดดังนี้ (โกมล,
                    210
                   2555)
                          1) ยูเรเนียม-238 มีอายุครึ่งชีวิต 4.5 พันลานป เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคแอลฟา กลายเปน
                   ทอเรียม-234
                          2) ทอเรียม-234 มีอายุครึ่งชีวิต 24.5 วัน เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคบีตาและรังสีแกมมา
                   กลายเปนโพรแทกทิเนียม-234
                          3) โพรแทกทิเนียม-234 มีอายุครึ่งชีวิต 269,000 ป เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคบีตาและรังสี
                   แกมมา กลายเปนทอเรียม-230
                          4) ทอเรียม-230 มีอายุครึ่งชีวิต 83,000 ป เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคแอลฟาและรังสีแกมมา
                   กลายเปนเรเดียม-226
                          5) เรเดียม-226 มีอายุครึ่งชีวิต 1,590 ป เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคแอลฟาและรังสีแกมมา

                   กลายเปนเรดอน-222
                          6) เรดอน-222 มีอายุครึ่งชีวิต 3.825 วัน เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคแอลฟา กลายเปน
                   พอโลเนียม-218
                          7) พอโลเนียม-218 มีอายุครึ่งชีวิต 3.05 นาที เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคแอลฟา กลายเปน
                   ตะกั่ว-214
                          8) ตะกั่ว-214 มีอายุครึ่งชีวิต 26.8 นาที เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคบีตาและรังสีแกมมา

                   กลายเปนบิสมัท-214
                          9) บิสมัท-214 มีอายุครึ่งชีวิต 19.7 นาที เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคแอลฟาและอนุภาคบีตา
                   กลายเปนพอโลเนียม-214
                          10) พอโลเนียม-214 มีอายุครึ่งชีวิต 150 ไมโครวินาที เมื่อสลายตัว จะปลดปลอยอนุภาคแอลฟา
                   กลายเปนแทลเลียม-210
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27