Page 25 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 25
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
19
ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินการ
ระยะเวลาดําเนินการ
ระยะเวลาโครงการ 2 ป
วันที่เริ่มตน 1 ตุลาคม 2562 วันที่สิ้นสุด 30 กันยายน 2564
สถานที่ดําเนินการ
หมูที่ 1 บานทาดินแดง วังขยาย ตําบลปรังเผล อําเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
พิกัด (14°56’36.7”N 98°36’15.7”E) หรือ 1652130.05N / 457429.60E
อุปกรณและวิธีการ
อุปกรณ
1. การศึกษาภาคสนามและเก็บตัวอยางดิน
1) ถุงพลาสติกเก็บตัวอยางดิน แบบซิปล็อค
2) ถุงพลาสติกหูหิ้ว
3) ถุงพลาสติกใส
4) เทปกาวยน
5) เทปพันสายไฟ
6) เชือกไนลอน
7) สีสเปรย
8) ปากกาเมจิก
9) ไมปกหมุด
10) กระบอกเก็บตัวอยางดิน
11) อุปกรณเก็บตัวอยางตะกอนดิน แบบไมรบกวนโครงสราง (sediment core sampler)
12) เครื่องมือบอกพิกัดทางภูมิศาสตร (GPS)
13) แผนที่ขอมูลดิน
2. การใชเครื่องมือวิทยาศาสตรในการวิเคราะหตัวอยางดิน
1) เครื่องมือวัดรังสีไอโซโทปในดิน (Alpha spectrometry)
2) UV-Vis Spectrophotometer รุน Lambda35, Perkin Elmer
3) Atomic Absorption Spectrophotometer รุน SensAA, GBC
4) Flame Photometer รุน M420, Sherwood
5) pH meter รุน Docu-pH meter, Sartorius
6) Balance
7) Auto-tritator (Brand)
8) Auto-dilutor (Metromh)
9) Mixer
10) เครื่องแกววิทยาศาสตร
11) สารเคมี AR Grade