Page 36 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           24



                                                    E = R [29.8 + (127.5 / I)]
                          E = พลังงานจลน์ของฝน (kinetic energy of rainfall) ในหน่วย จูลต่อตารางเมตร
                          R = ข้อมูลปริมาณน้ าฝนรายปี (annual rainfall) ในหน่วย มิลลิเมตร
                          I = ข้อมูลความหนักเบาของฝนสูงสุดในหนึ่งชั่วโมง (rainfall intensity) ในหน่วย มิลลิเมตรต่อชั่วโมง

                                  - การหาปริมาณเม็ดดินที่แตกกระจาย (soil detachment)
                                   การหาปริมาณเม็ดดินที่แตกกระจายจากพลังงานของเม็ดฝน เป็นการใช้ข้อมูลดัชนีความ
                   คงทนของดินต่อการถูกกัดชะด้วยน้ าฝน (soil detachability index: K) ข้อมูลร้อยละของน้ าฝนที่พืชยึดไว้
                   (crop interception percent factor: A) และข้อมูลพลังงานจลน์ของฝน (Kinetic energy of rainfall)

                   ที่อยู่ในรูป raster ที่ขนาด grid cell size 100 x 100 ตารางเมตร มาท าการวิเคราะห์ตามสมการเพื่อให้ได้
                   ปริมาณเม็ดดินที่แตกกระจาย (soil detachment) ซึ่งสมการที่ใช้ในการวิเคราะห์มีดังนี้
                                                                         -3
                                                                 -aA
                                                      D= K.(E exp )b.10
                          D = ปริมาณเม็ดดินที่แตกกระจาย (soil detachment) ในหน่วย กิโลกรัมต่อตารางเมตร
                          K = ดัชนีความคงทนของดินต่อการถูกกัดชะด้วยน้ าฝน (soil detachability index) ในหน่วย กรัมต่อจูล
                          E = พลังงานจลน์ของฝน (Kinetic energy of rainfall) ในหน่วย จูลต่อตารางเมตร
                          A = ข้อมูลร้อยละของน้ าฝนที่พืชยึดไว้ (crop interception percent factor)
                          a = 0.05

                          b = 1.0

                                   ในการวิเคราะห์ข้อมูลตามสมการทั้ง 2 สมการข้างต้น ท าการประมวลผล และได้ผลลัพธ์
                   สุดท้ายออกมาเป็นแผนที่ปริมาณการแตกกระจายของเม็ดดิน (soil detachment) ในหน่วยกิโลกรัมต่อ
                   ตารางเมตร โดยอยู่ในรูปของข้อมูลแบบ raster ที่ขนาด grid cell size 100 x 100 ตารางเมตร เพื่อน าไป

                   วิเคราะห์ในขั้นตอนต่อไป
                                   (5.2) การประเมินการพัดพาอนุภาคดินที่แตกกระจายไปกับน้ าไหลบ่า (soil transportation

                   phase)
                                   การท าแผนที่การพัดพาอนุภาคดินด้วยน้ าไหลบ่าหน้าดิน จัดท าโดยการพิจารณาจากปัจจัย
                   ย่อย ๆ ก่อนแล้วจึงน าปัจจัยเหล่านั้นมาประเมินหาปริมาณอนุภาคดินที่สามารถถูกพัดพาไปด้วยน้ าไหลบ่า

                   ปัจจัยย่อยที่ต้องน ามาพิจารณา ได้แก่ ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยต่อวันในหนึ่งปี ปริมาณน้ าฝนที่ดินสามารถซึมซับไว้
                   ได้ ซึ่งทั้ง 2 ปัจจัยที่ได้จะน าไปค านวณเป็นปริมาณน้ าไหลบ่าหน้าดิน (overland flow) ที่เกิดขึ้น และน าไป
                   วิเคราะห์ต่อจนได้ค่าของปริมาณอนุภาคดินที่สามารถถูกพัดพาไปได้ สามารถอธิบายได้ดังนี้
                                   - การหาปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยต่อวันในหนึ่งปี (mean rain per rainy day)

                                   การประเมินปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยต่อวัน ได้มาจากการน าข้อมูลปริมาณน้ าฝนรายปี (annual
                   rainfall) ในหน่วยมิลลิเมตร มาพิจารณาร่วมกับข้อมูลจ านวนวันฝนตกในรอบปี (rainy day) ซึ่งการพิจารณา
                   เป็นดังสมการต่อไปนี้
                                                           R0 = R/Rn

                          R0  = น้ าฝนเฉลี่ยต่อวันในหนึ่งปี (mean rain per rainy day) ในหน่วยมิลลิเมตรต่อวัน
                          R  = ข้อมูลปริมาณน้ าฝนรายปี (annual rainfall) ในหน่วยมิลลิเมตร
                          Rn = ข้อมูลจ านวนวันฝนตกในรอบปี (rainy day) ในหน่วยวัน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41