Page 41 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           29

                   ตารางที่ 8 การปลดปล่อยมลพิษทางอากาศเมื่อเกิดการเผาไหม้พืชเศรษฐกิจในพื้นที่เปิดโล่ง

                                                Emission Factor                 เมื่อเผาเศษวัสดุในพื นที่ 1 ไร่
                        สารมลพิษ              (กิโลกรัมต่อตันเศษวัสดุ)        จะเกิดสารมลพิษต่าง ๆ (กิโลกรัม)
                                         ข้าว       ข้าวโพด      อ้อย        ข้าว       ข้าวโพด      อ้อย
                    CO2                 1,355.95   1,257.17    1,152.50     446.11      440.01     4,923.48
                    CO                   59.20       54.50       40.08       19.48      19.08       171.22
                    PM10                 14.00       11.95       6.29        4.61        4.18       26.87
                    PM2.5                12.72       11.10       4.12        4.18        3.89       17.60
                    CH4                  4.30        3.00        4.31        1.41        1.05       18.41
                    NH3                  0.59        0.55        1.39        0.19        0.19        5.94
                    NOX                  2.96        3.36        3.49        0.97        1.18       14.91
                    SO2                  0.60        0.24        0.43        0.20        0.08        1.84
                    NMVOC                7.95        6.19        10.60       2.62        2.17       45.28
                    Black Carbon         0.58        0.75        0.73        0.19        0.26        3.12
                    Organic Carbon       3.50        3.71        1.25        1.15        1.30        5.34
                   หมายเหตุ:  จากการค านวณ  ข้าว   1 ไร่ มีเศษวัสดุที่เป็น Dry matter 329 กิโลกรัม
                                          ข้าวโพด  1 ไร่ มีเศษวัสดุที่เป็น Dry matter 350 กิโลกรัม
                                          อ้อย    1 ไร่ มีเศษวัสดุที่เป็น Dry matter 4,272 กิโลกรัม
                   ที่มา: ดัดแปลงมาจาก กรมพัฒนาที่ดิน (2558) และ Zhang et al. (2018)


                          5 สรุปผลการศึกษา


                   ผลกระทบจากการเผาตอซังและไม่ไถพรวนต่อสมบัติดิน เพื่อการปลูกข้าวโพดเลี ยงสัตว์อินทรีย์บนพื นที่
                   สูง จังหวัดเชียงใหม่
                   อุปกรณ์

                          1. เมล็ดพันธ์ข้าวโพดนครสวรรค์ 3
                          2. พันธ์ถั่วปิ่นโต
                          3. ปุ๋ยเคมี สูตร 46-0-0 และ 16-20-0
                          4. บ่อดักตะกอนดินพร้อมหมุด

                   วิธีการ
                          1. วางแผนการทดลองแบบสุ่มภายในบล็อกสมบูรณ์ (Randomized Completely Block
                   Design,RCBD) 4 ต ารับการทดลอง จ านวน 3 ซ้ า ดังนี้

                           ต ารับที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง
                           ต ารับที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง
                           ต ารับที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง
                           ต ารับที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซัง และปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน


                          2. ขั้นตอนการด าเนินการ
                            1) การเลือกพื้นที่ เลือกพื้นที่ปลูกข้าวโพด ในพื้นที่ หมู่ 7 ต าบลกองแขก อ าเภอแม่แจ่ม
                   จังหวัดเชียงใหม่ ที่ระดับความลาดเท 20 เปอร์เซ็นต์
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46