Page 33 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           21

                   ตารางที่ 4 ค่าดัชนีความคงทนของดินต่อการถูกกัดชะด้วยน้ าฝนจ าแนกตามเนื้อดิน

                              เนื้อดิน                ดัชนีความคงทนของดินต่อการถูกกัดชะด้วยน้ าฝน: K (กรัมต่อจูล)
                          Sand                                              1.20
                          Loamy sand                                        0.30
                          Sandy loam                                        0.70
                          Loam                                              0.80
                          Silt                                              1.00
                          Silt loam                                         0.90
                          Sandy clay loam                                   0.10
                          Clay loam                                         0.70
                          Silt clay loam                                    0.80
                          Sandy clay                                        0.30
                          Silt clay                                         0.50
                          Clay                                              0.05

                   ที่มา: Morgan (2001)

                          ส าหรับวิธีการเตรียมข้อมูลก่อนการน าไปวิเคราะห์มีดังนี้

                                 - ป้อนค่าของข้อมูลที่ได้จากการตรวจเอกสารเข้าสู่ฐานข้อมูลกายภาพของดินในรูปแบบ
                   ข้อมูลตารางของโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

                                 - ท าการกระจายค่าข้อมูลซึ่งเป็นจุดตามพิกัดลงสู่ทุกพื้นที่โดยการ Interpolation โดยวิธี
                   Moving Average ด้วยวิธีการถ่วงน้ าหนักแบบ Inverse Distance ที่ขนาด grid cell size 100 x 100 ตาราง
                   เมตร เพื่อน าไปวิเคราะห์ต่อไป
                                 (3) ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                                 - ข้อมูลค่าการปกคลุมของพืชพันธุ์ (crop cover factor: C)
                                 - ข้อมูลร้อยละของน้ าฝนที่พืชยึดไว้ (crop interception percent factor: A)
                                 - ข้อมูลอัตราส่วนระหว่างการคายระเหยจริงกับการระเหยน้ าสูงสุด (ratio of actual to

                   potential evapotranspiration: Et/E0)
                                 - ข้อมูลความลึกของน้ าในดินที่พืชน าไปใช้ประโยชน์ได้ (rooting depth: RD)
                             ข้อมูลของค่าการปกคลุมของพืชพันธุ์ที่น ามาใช้เป็นค่าที่ได้จากการตรวจเอกสาร ซึ่งได้จัดท าไว้โดย
                   กรมพัฒนาที่ดิน (2545) ข้อมูลค่าการปกคลุมของพืชพันธุ์ (crop cover factor: C) ในที่นี้เป็นผลคูณระหว่าง
                   ค่าปัจจัยการจัดการพืช (crop management factor: C) และค่าการปฏิบัติป้องกันการชะล้างพังทลาย

                   ของดิน (practice factor: P) ที่ใช้ในสมการสูญเสียดินสากล เพื่อแสดงถึงความสามารถของพืชคลุมดินที่มี
                   ผลต่อการเกิดการชะล้างพังทลายของดิน โดยค่าการปกคลุมของพืชพันธุ์อ้างอิงได้จากการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                   ประเภทต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 5
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38