Page 38 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           26

                                                       T = C.Q .sinS.10
                                                               2
                                                                       -3
                          T = ปริมาณเม็ดดินที่ถูกพัดพาไปกับน้ าไหลบ่า (soil transportation) ในหน่วยกิโลกรัมต่อ
                   ตารางเมตร
                          C = ค่าการปกคลุมของพืชพันธุ์ (crop cover)
                          Q = ปริมาณน้ าไหลบ่าหน้าดิน (overland flow) ในหน่วย มิลลิเมตร

                          S = ค่าความลาดชันของภูมิประเทศ (slope gradient) ในหน่วย องศา

                                   ในการวิเคราะห์ข้อมูลตามสมการข้างต้น ท าการประมวลผล และได้ผลลัพธ์สุดท้ายออกมา
                   เป็นแผนที่ปริมาณเม็ดดินที่ถูกพัดพาไปกับน้ าไหลบ่า (soil transportation) ในหน่วย กิโลกรัมต่อตารางเมตร
                   โดยอยู่ในรูปของข้อมูลแบบ raster ที่ขนาด grid cell size 100 x 100 ตารางเมตร เพื่อน าไปวิเคราะห์ในขั้น
                   ต่อไป

                                   (5.3) การประเมินการชะล้างพังทลายของดิน (soil erosion)

                                   หลังจากการประมวลผลข้อมูลอันได้มาซึ่งแผนที่ปริมาณการแตกกระจายของเม็ดดิน
                   (soil detachment) ในหน่วยกิโลกรัมต่อตารางเมตร และแผนที่ปริมาณเม็ดดินที่สามารถถูกพัดพาไปกับ
                   น้ าไหลบ่า (soil transportation) ในหน่วยกิโลกรัมต่อตารางเมตร แล้วตามแนวคิดของแบบจ าลอง MMF
                   จะน าแผนที่ของทั้ง 2 กระบวนการมาเปรียบเทียบกัน โดยที่ปริมาณการสูญเสียดินของกระบวนการใด

                   ที่น้อยกว่าปริมาณการสูญเสียดินที่เกิดจากกระบวนการนั้นก็จะเป็นปริมาณดินที่เกิดจากการชะล้างพังทลาย
                   ของดินในพื้นที่นั้น ส าหรับการจัดท าแผนที่การชะล้างพังทลายของดินสามารถท าได้ดังนี้
                                   - เขียนค าสั่งโดยมีเงื่อนไขว่าระหว่างปริมาณการแตกกระจายของเม็ดดิน และปริมาณเม็ด

                   ดินที่สามารถถูกพัดพาไปกับน้ าไหลบ่า ปริมาณของกระบวนการใดมีค่าน้อยกว่าให้ถือเป็นปริมาณการชะล้าง
                   พังทลายของดิน
                                   - เมื่อได้แผนที่การชะล้างพังทลายของดินซึ่งมีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อตารางเมตรแล้ว ท า
                   การเปลี่ยนค่าดังกล่าวให้อยู่ในหน่วย ตัน/ไร่
                                   - ท าการแปลงจากข้อมูลจากข้อมูล raster ขนาด grid cell size 100 x 100 ตารางเมตร

                   ไปเป็นข้อมูล Coverage
                                   - ท าการแบ่งระดับการชะล้างพังทลายของดินออกเป็นระดับความรุนแรง 5 ระดับ คือ
                   ตั้งแต่ระดับที่มีการชะล้างพังทลายของดินน้อยมากจนถึงระดับที่รุนแรงมาก และแยกระหว่างพื้นที่ราบและ

                   พื้นที่สูง จะได้ผลการศึกษาเป็นแผนที่แสดงระดับการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทยรายปี ส าหรับการ
                   จัดแบ่งระดับความรุนแรงอธิบาย ดังแสดงในตารางที่ 7
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43