Page 31 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           19

                   ตารางที่ 2 เกณฑ์การจ าแนกปัจจัยในการประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินออกเป็นระดับต่าง ๆ

                                                                          ระดับความอุดมสมบูรณ์
                                 ปัจจัย
                                                  ต่้ามาก       ต่้า      ปานกลาง       สูง        สูงมาก
                     1. ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน                <0.5   0.5 – 1.5   1.5 – 2.5   2.5 – 3.5   > 3.5
                       (Organic Matter, %)
                     2. ปริมาณคาร์บอนในดิน       < 0.58     0.58 – 0.87  0.87 – 1.45  1.45 – 2.03   > 2.03
                       (Carbon, %)
                     3. ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด     < 0.1      0.1 – 0.3   0.3 – 0.6    0.6 – 1.0     > 1.0
                       (Total Nitrogen, %)
                     4. ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น      < 3        3 – 10      10 – 15     15 – 25       > 25
                       ประโยชน์ (Available
                       Phosphorus, ppm)
                     5. ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น   < 30       30 – 60      60 – 90     90 – 120     > 120
                       ประโยชน์ (Available
                       Potassium, ppm)

                          น าค่าระดับคะแนนของปัจจัยทั้งหมดมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการซ้อนทับเชิงพื้นที่ (Overlay) จากนั้น

                   น ามาจ าแนกระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินออกเป็นระดับสูงมาก สูง ปานกลาง ต่ า และต่ ามาก แล้วจัดท า
                   เป็นแผนที่ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                          3. วิเคราะห์การชะล้างพังทลายของดิน โดยแบบจ าลอง MMF Model และศึกษาผลกระทบของ
                   การชะล้างพังทลายของดินต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                          ในการออกแบบการจัดท าแผนที่การชะล้างพังทลายของดิน ได้ท าการศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องและใช้

                   ในแบบจ าลอง และน ามาจัดท ากระบวนการในการจัดการข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่
                   (Spatial Data) และข้อมูลลักษณะสัมพันธ์ (Attribute Data) เพื่อให้กระบวนการดังกล่าวสอดคล้องกับ
                   การศึกษา และสามารถด าเนินการได้โดยค าสั่งของโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่ใช้

                            3.1 การรวบรวมข้อมูล ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยข้อมูลทั้งในรูปแบบที่เป็นแผนที่
                   ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลดิจิตอลที่มีพิกัดของจุดข้อมูลที่แน่นอน
                            3.2 การเตรียมข้อมูล น าข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมมาจัดเตรียมเป็นชั้นข้อมูลในรูปแบบของระบบ
                   สารสนเทศภูมิศาสตร์ ดังแสดงในตารางที่ 3

                    ตารางที่ 3 การเตรียมข้อมูลที่ใช้ประมวลผลในแบบจ าลอง MMF

                                                ข้อมูล                                   ที่มาของข้อมูล
                    ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา                                            เตรียมโดยการใช้ข้อมูลจากจาก
                    -  ข้อมูลปริมาณน้ าฝนรายปี (annual rainfall: R)                สถานีตรวจวัดสภาพอากาศ กรม
                    -  ข้อมูลจ านวนวันฝนตกในรอบปี (rainy day: Rn)                  อุตุนิยมวิทยาของปีที่ศึกษา
                    -  ข้อมูลความหนักเบาของฝนสูงสุดในหนึ่งชั่วโมง (rainfall intensity: I)
                    ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับดิน                                      เตรียมจากฐานข้อมูลสมบัติทาง
                    -  ข้อมูลความจุความชื้นของดินที่ระดับสนาม (moisture content at field   กายภาพของดินของกรมพัฒนา
                        capacity: MS)                                              ที่ดิน ร่วมกับการใช้ค่าจากการ
                    -  ข้อมูลความหนาแน่นรวมของดิน (bulk density: BD)               ตรวจเอกสาร
                    -  ข้อมูลดัชนีความคงทนของดินต่อการถูกกัดชะด้วยน้ าฝน
                       (soil detachability index: K)
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36