Page 32 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           20


                   ตารางที่ 3 การเตรียมข้อมูลที่ใช้ประมวลผลในแบบจ าลอง MMF (ต่อ)

                                                ข้อมูล                                   ที่มาของข้อมูล
                    ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน                     เตรียมขึ้นจากฐานข้อมูลการใช้
                    -  ข้อมูลร้อยละของน้ าฝนที่พืชยึดไว้ (crop interception percent factor: A)   ประโยชน์ที่ดินในปี 2561 – 2563
                    -  ข้อมูลความลึกของน้ าในดินที่พืชน าไปใช้ประโยชน์ได้ (rooting depth: RD)   โดยการใช้ค่าจากการตรวจ
                    -  ข้อมูลอัตราส่วนระหว่างการคายระเหยจริงกับการระเหยน้ าสูงสุด (ratio of   เอกสาร
                       actual to potential evapotranspiration: Et/E0)
                    -  ข้อมูลค่าการปกคลุมของพืชพันธุ์ (crop cover factor: C)
                    ข้อมูลความสูงภูมิประเทศ                                        ค านวณจากข้อมูลเส้นความสูงเท่า
                        ข้อมูลระดับความสูงของภูมิประเทศ (Elevation)                (contour line) ที่มีระยะห่างชั้น
                                                                                   ละ 100 เมตร


                          3.3 การวิเคราะห์การชะล้างพังทลายของดิน โดย แบบจ าลอง MMF
                                 (1) ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา

                                 - ข้อมูลปริมาณน้ าฝนรายปี (annual rainfall: R)
                                 - ข้อมูลจ านวนวันฝนตกในรอบปี (rainy day: Rn)

                                 - ข้อมูลความหนักเบาของฝนสูงสุดในหนึ่งชั่วโมง (rainfall intensity: I)
                          ข้อมูลทั้ง 3 ประเภท ได้มาจากฐานข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา โดยเป็นข้อมูลของปีที่ศึกษา ซึ่งข้อมูล
                   ที่ได้มาเป็นข้อมูลเชิงปริมาณที่มีพิกัดทางภูมิศาสตร์ ซึ่งต้องน ามาเตรียมก่อนการวิเคราะห์ด้วยวิธีดังนี้

                                 - น าเข้าข้อมูลเชิงปริมาณและพิกัดภูมิศาสตร์แบบ Latitude-Longitude ของแต่ละข้อมูล
                   ไปเป็นฐานข้อมูลตาราง Database File (.DBF)
                                 - น าเข้าสู่ชั้นข้อมูล GIS จากโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                                 - แปลงพิกัดภูมิศาสตร์ลงสู่ระบบ UTM WGS 1984 Zone 47N

                                 - ท าการกระจายค่าข้อมูลซึ่งเป็นจุดตามพิกัดลงสู่ทุกพื้นที่ โดยการ Interpolation โดยวิธี
                   Moving Average ด้วยวิธีการถ่วงน้ าหนักแบบ Inverse Distance ที่ขนาด grid cell size 100 x 100 ตาราง
                   เมตร เพื่อน าไปวิเคราะห์ต่อไป
                                 (2) ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับดิน

                                 - ข้อมูลความจุความชื้นของดินที่ระดับสนาม (moisture content at field capacity: MS)
                                 - ข้อมูลความหนาแน่นรวมของดิน (bulk density: BD)
                                 - ข้อมูลดัชนีความคงทนของดินต่อการถูกกัดชะด้วยน้ าฝน (soil detachability index: K)
                          ส าหรับข้อมูลความจุความชื้นของดินที่ระดับสนาม และข้อมูลความหนาแน่นรวมของดิน น ามาจาก

                   ฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ของกรมพัฒนาที่ดิน ในส่วนของข้อมูลดัชนีความคงทนของดินต่อการ
                   ถูกกัดชะด้วยน้ าฝน อาศัยค่าที่ได้จากการตรวจเอกสารซึ่งอ้างอิงกับข้อมูลเนื้อดิน ซึ่งมาจากฐานข้อมูลในระบบ
                   สารสนเทศภูมิศาสตร์ของกรมพัฒนาที่ดินเช่นกัน ส าหรับค่าดัชนีความคงทนของดินต่อการถูกกัดชะด้วยน้ าฝน
                   ที่น ามาใช้ ดังแสดงในตารางที่ 4
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37