Page 18 - การจัดทำค่ามาตรฐานของมหธาตุสำหรับแปลผลวิเคราะห์ดินและพืชในขมิ้นชัน Standard Values of Macronutrient Elements for Soil and Plant Analysis in Turmeric (Curcuma longa L.)
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           8

                   ของดิน และพืชตระกูลถั่ว เป็นต้น ส่วนแหล่งปัจจัยที่ท าให้ธาตุอาหารสูญเสียออกจากพื้นที่ ได้แก่ ผลผลิต ชีว

                   มวลที่น าออกจากพื้นที่โดยกิจกรรมของมนุษย์ หรือสัตว์ กระบวนการชะละลายธาตุอาหาร การไหลบ่าของน้ า
                   การกร่อนดิน และการสูญเสียไนโตรเจนสู่บรรยากาศ (ภาพที่ 3) (Carmo et al., 2017) จากแบบจ าลองที่ได้

                   แสดงให้เห็นว่า ทฤษฎีสมดุลมวลเป็นเทคนิคการจัดการธาตุอาหารแบบองค์รวม ซึ่งครอบคลุมปัจจัยสภาวะ

                   แวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งระบบ จึงน่าจะช่วยลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้
                   มุ่งเน้นรักษาสถานะของธาตุอาหารให้สมดุลกับส่วนที่สูญเสียไป จึงเหมาะกับบริเวณที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์

                   อยู่แล้ว แต่หากน าไปใช้ในพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า และต้องการยกระดับผลผลิต จ าเป็นต้องพิจารณา

                   ร่วมกับค่ามาตรฐานของธาตุอาหารในดิน หรือพืชในระดับที่เพียงพอส าหรับพืชชนิดนั้นๆ จึงจะสามารถเพิ่ม
                   ผลผลิตพืช และยังคงความอุดมสมบูรณ์ของดินเอาไว้ ดังนั้นการจัดท าค่ามาตรฐานธาตุอาหาร ซึ่งมี

                   ความจ าเพาะตามชนิดพืช (สุมิตรา และคณะ, 2544) เป็นสิ่งจ าเป็นในการน ามาใช้เป็นค่าวินิจฉัยส าหรับ
                   แนะน าปุ๋ยแก่เกษตรกร





























                   ภาพที่ 3 แบบจ าลองสมดุลมวลของธาตุอาหารพืชระหว่างแหล่งที่มาของธาตุอาหารในดิน (ลูกศรสีเขียว) กับ
                   แหล่งที่ท าให้ธาตุอาหารสูญเสียออกจากพื้นที่ (ลูกศรสีด า) ส าหรับใช้จัดการไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ

                   โพแทสเซียม ในต้นมะกอก
                   ที่มา: Carmo และคณะ (2017)



                   3. การจัดท าค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืช (preparation of plant nutrient standards)
                          ค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชเป็นค่าที่บ่งชี้สถานะความพอเพียงของธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ ส าหรับ

                   น ามาใช้เป็นแนวทางในการจัดการความสมดุลธาตุอาหาร หรือใช้เป็นเกณฑ์ประเมินผลวิเคราะห์ดินและพืชใน
                   การให้ค าแนะน าปุ๋ย ซึ่งมีความจ าเพาะต่อชนิดพืชแบบเฉพาะเจาะจง วิธีการที่ดีที่สุดในการสร้างค่ามาตรฐาน

                   คือการปลูกพืชในแปลงทดลองที่ให้ระดับธาตุอาหารแตกต่างกัน จากนั้นหาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น

                   ธาตุอาหารกับการตอบสนองของพืช อย่างไรก็ตาม การใช้วิธีดังกล่าวมีข้อจ ากัด เนื่องจากหากต้องการข้อมูลที่
                   สามารถครอบคลุมพื้นที่ในวงกว้าง และครบทุกชนิดธาตุ การศึกษาจ าเป็นต้องใช้ระยะเวลานาน และมี
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23