Page 16 - การจัดทำค่ามาตรฐานของมหธาตุสำหรับแปลผลวิเคราะห์ดินและพืชในขมิ้นชัน Standard Values of Macronutrient Elements for Soil and Plant Analysis in Turmeric (Curcuma longa L.)
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           6

                              dy   = (A-y) c                                                               ……………………………..1

                              dx
                   หรือ

                                           -cx
                              y  = A (1-10 )                                                              ……………………………..2
                   เมื่อ  y คือ ผลผลิต
                        x คือ ความเข้มข้นธาตุอาหาร

                        A คือ ผลผลิตสูงสุด

                        c คือ ค่าคงที่ของสมการ


                   เมื่อน าสมการที่ได้มาสร้างแบบจ าลองโดยสมมติให้พืชมีการเจริญเติบโตหรือให้ผลผลิต (A) 100 หน่วย และได้

                   ค่าคงที่ของสมการ (c) เท่ากับ 0.1 พบว่า ความเข้มข้นธาตุอาหาร (x) ที่ท าให้พืชได้ผลผลิตสูงสุด คือ 15
                   หน่วย (ภาพที่ 2)





























                   ภาพที่ 2 แบบจ าลองการตอบสนองต่อธาตุอาหารของ Mitscherlich เมื่อสมมติให้ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 100

                   หน่วย และปริมาณธาตุอาหารที่ท าให้พืชได้ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 15 หน่วย


                          จากแบบจ าลองชี้ให้เห็นว่า หากในดินไม่มีธาตุอาหารอยู่เลย เมื่อเกษตรกรเพิ่มความเข้มข้นของธาตุ

                   อาหาร 6 หน่วย ผลผลิตจะเพิ่มขึ้น 75 หน่วย และหากเกษตรกรยังคงเพิ่มปริมาณธาตุอาหารต่อไปอีกเท่าตัว
                   รวมเป็น 12 หน่วย พบว่า ผลผลิตเพิ่มขึ้นเพียงประมาณ 20 หน่วย ดังนั้นหากธาตุอาหารมีราคา 1,000 บาท

                   ต่อหน่วย และผลผลิตพืชมีราคา 120 บาทต่อหน่วย ในกรณีแรกเกษตรจ่ายค่าปุ๋ย 6,000 บาท ในขณะที่

                   สามารถขายผลผลิตได้ 9,000 บาท ท าให้เกษตรกรได้ผลตอบแทน 3,000 บาท แต่ในกรณีที่เกษตรกรเพิ่มธาตุ
                   อาหารทั้งหมดเป็น 12 หน่วย เกษตรกรต้องจ่ายค่าปุ๋ย 12,000 บาท แต่สามารถขายผลผลิตได้เพียง 11,400

                   บาท ส่งผลให้เกษตรกรขาดทุน 600 บาท ดังนั้น หลักการจัดการธาตุอาหารในดินที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งจ าเป็น
                   ส าหรับเกษตรกร อย่างไรก็ตามการค านวณความต้องการธาตุอาหารของพืชตามทฤษฎีนี้ ในทางปฏิบัติท าได้
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21