Page 49 - ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน Effect of Nitrogen, Phosphorus and Potassium Fertilizers on Plant Growth, Products, Economic Return and Curcuminoids in Turmeric (Curcuma Longa L.)
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

































                   ภาพที่ 16 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นฟอสฟอรัสกับสารเคอร์คูมินอยด์ในเหง้าขมิ้นชัน

                   5.3 ผลของอัตราปุ๋ยโพแทสเซียมต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตขมิ้นชัน

                          จากผลประเมินการเจริญเติบโตและผลผลิตขมิ้นชัน จากการทดสอบอัตราปุ๋ยโพแทสเซียมเปรียบเทียบ

                   กับของเกษตรกร พบว่า ความสูงของต้น ความกว้างของใบ (ภาพที่ 17a) และการแตกกอ (ภาพที่ 17b) ในทุก

                   ต่ารับการทดลองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามอัตราปุ๋ยโพแทสเซียม แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ทั้งนี้ การใช้ปุ๋ยอัตรา

                   50 กิโลกรัม K O ต่อไร่ มีแนวโน้มส่งผลให้ต้นขมิ้นชันมีการเจริญเติบโตสูงกว่าวิธีเกษตรกร เมื่อพิจารณาจากความ
                               2
                   สูงต้น ความกว้างใบ และการแตกกอ อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นอีก ส่งผลให้การ
                   เจริญเติบโตของต้นขมิ้นชันลดลง ชี้ให้เห็นถึง ขีดจ่ากัดในการตอบสนองต่อโพแทสเซียม อาจเนื่องจาก

                   โพแทสเซียมที่เพิ่มขึ้นเป็นปฏิปักษ์ต่อการดูดใช้ธาตุอาหารชนิดอื่น โดยเฉพาะแคลเซียมและแมกนีเซียม (ภาพที่

                   8a) พบว่า เมื่อใส่ปุ๋ยมากกว่า 25 กิโลกรัม K O ต่อไร่ ส่งผลให้ความเข้มข้นแคลเซียมในใบลดลง อยู่ในระดับ ต่่า
                                                        2
                   กว่า 10 กรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งจัดอยู่ในช่วงขาดแคลนส่าหรับพืชทั่วไป ส่วนความเข้มข้นแมกนีเซียมในใบเริ่มลดลง

                   อย่างเด่นชัด และอยู่ในช่วงขาดแคลน (Kalra, 1998) เมื่อใส่ปุ๋ยมากกว่า 50 และ 100 กิโลกรัม K O ต่อไร่
                                                                                                        2
                   ตามล่าดับ โดยแคลเซียมท่าหน้าที่เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ สร้างความแข็งแรงให้กับท่อล่าเลียงน้่าและ
                   อาหารของต้นขมิ้นชัน ดังนั้น เมื่อผนังเซลล์ของท่อล่าเลียงมีแคลเซียมไม่เพียงพอจึงกระทบต่อความสามารถใน

                   การดูดน้่าและธาตุอาหาร ความแข็งแรงของผนังเซลล์ยังช่วยให้ต้นขมิ้นชันต้านทานต่อการเข้าท่าลายของเชื้อโรค

                   มีรายงานการใช้ปูนเผา ซึ่งเป็นแหล่งของแคลเซียม อัตรา 800 กิโลกรัมต่อไร่ ช่วยแก้ปัญหาการเกิดโรคเหี่ยวของ

                   ขมิ้นชัน (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2551) ในขณะที่ แมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ เมื่อในใบมีความ

                   เข้มข้นต่่า ท่าให้มีผลต่อความสารถในการสังเคราะห์แสง ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานส่าหรับใช้ในการเจริญเติบโตและ
                   สร้างผลผลิต (ยงยุทธ, 2552) ดังนั้น เมื่อต้นขมิ้นชันขาดแคลเซียมและแมกนีเซียมจึงมีผลจ่ากัดการเจริญเติบโต
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54