Page 53 - ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน Effect of Nitrogen, Phosphorus and Potassium Fertilizers on Plant Growth, Products, Economic Return and Curcuminoids in Turmeric (Curcuma Longa L.)
P. 53

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                   ตารางที่ 2 ผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจจากการใช้อัตราปุ๋ยไนโตรเจนแตกต่างกันส่าหรับขมิ้นชัน

                                   Yield (kg/rai)  Cost of production   2/ Income         Profit
                                                 1/
                    Treatments                                                                        3/ B/C ratio
                                      (kg/rai)        (Baht/rai)        (Baht/rai)      (Baht/rai)
                   T1, Farmers         644              14,342           19,308           4,966          1.35

                   T2, 0 kg N/rai      946              15,451           28,365          12,914          1.84

                   T3, 9 kg N/rai     1,080             15,730           32,403          16,673          2.06
                   T4, 18 kg N/rai    1,339             16,009           40,179          24,170          2.51

                   T5, 27 kg N/rai     656              16,288           19,674           3,386          1.21
                   T6, 36 kg N/rai     621              16,567           18,641           2,074          1.13

                   T7, 45 kg N/rai     579              16,846           17,376            530           1.03

                   หมายเหตุ: T1 ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ T2-T7 ได้รับปริมาณ P O -K O-CaO-MgO-S
                                                                                             2 5 2
                                                            1/
                   อัตรา 11-50-1.4-1.4-2.5 กิโลกรัมต่อไร่ เท่ากัน  ต้นทุนการผลิตอื่น ๆ ที่ยังไม่รวมค่าปุ๋ย = 13,342 บาทต่อไร่
                   2/ ค่าเฉลี่ยราคาผลผลิตขมิ้นชันสด = 30 บาท/กิโลกรัม  Benefit-cost ratio = Income/Cost of production
                                                                3/
                   6.2 ข้อมูลเบื้องต้นของต้นทุนการผลิตและรายได้จากการใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัส

                          จากการประเมินต้นทุนอื่น ๆ ในการปลูกขมิ้นชันที่ยังไม่รวมต้นทุนจากการใช้ปุ๋ย ได้แก่ ค่าวัสดุเกษตร

                   ค่าแรงงานในการเตรียมดิน ปลูก การดูแลรักษา ก่าจัดวัชพืช และการเก็บเกี่ยวผลผลิต ตลอดจนค่าเสียโอกาสเงิน

                   ลงทุน ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ โดยดัดแปลงวิธีการประเมินต้นทุนจากการผลิตหอมแดงของส่านักงานเศรษฐกิจ

                   การเกษตร พบว่า การปลูกขมิ้นชันมีต้นทุนอื่น ๆ ที่ยังไม่รวมค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ย เท่ากับ 13,342 บาทต่อ

                   ไร่ และเมื่อมีการใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัสในอัตราที่ต่างกันส่งผลให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นตามอัตราปุ๋ยที่ใส่ (ตารางที่ 3)
                   การใช้วิธีเกษตรกร มีต้นทุนการผลิตต่่าสุด 14,342 บาทต่อไร่ อย่างไรก็ตาม การใส่ปุ๋ยในอัตราที่เหมาะสม ส่งผล

                   ให้อัตราการเพิ่มผลผลิตสูงกว่าอัตราการเพิ่มของต้นทุน เห็นได้จาก การใส่ปุ๋ยในช่วง 4, 9 และ 13 กิโลกรัม P O
                                                                                                             2 5
                   ต่อไร่ ได้ผลผลิต 884, 1,186 และ 837 กิโลกรัมต่อไร่ มีต้นทุน 15,834, 16,044 และ 16,253 บาทต่อไร่

                   ตามล่าดับ ในขณะที่ การใช้วิธีเกษตรกร ได้ผลผลิต 644 กิโลกรัมต่อไร่ และมีต้นทุนอยู่ 14,342 บาทต่อไร่ ต่่ากว่า

                   ต่ารับการทดลองในข้างต้น แต่เมื่อประเมินรายได้จากการขายผลผลิตสดของเหง้าขมิ้นชัน ที่ราคาเฉลี่ย กิโลกรัม
                   ละ 30 บาท พบว่า วิธีเกษตรกรมีรายได้จากการขาย 19,308 บาท เมื่อหักต้นทุนการผลิต เหลือก่าไร 4,966 บาท

                   ต่อไร่ ต่่ากว่า การใช้ปุ๋ยอัตรา 4, 9 และ 13 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ซึ่งมีรายได้จากการขายผลผลิตต่อไร่ 26,517,
                                                                 2 5
                   35,580 และ 25,098 บาท และได้รับก่าไร 10,683, 19,536 และ 8,845 บาท ตามล่าดับ ทั้งนี้ เมื่อประเมินจาก

                   อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน พบว่า การใส่ปุ๋ยอัตรา 9 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ มีอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน
                                                                           2 5
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58