Page 54 - ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน Effect of Nitrogen, Phosphorus and Potassium Fertilizers on Plant Growth, Products, Economic Return and Curcuminoids in Turmeric (Curcuma Longa L.)
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                   สูงสุด เท่ากับ 2.22 แปลความหมายได้ว่า การใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสตามต่ารับการทดลองดังกล่าว จะท่าให้ได้รับรายได้

                   จากการขายผลผลิตจ่านวน 2.22 เท่า ของจ่านวนเงินที่ลงทุนไป หรือเงินที่ลงทุนไป 1 บาท สามารถสร้างก่าไรได้

                   1.22 บาท อย่างไรก็ตาม เมื่อเพิ่มอัตราปุ๋ยเป็น 13, 18 และ 22 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ส่งผลให้อัตราส่วน
                                                                                      2 5
                   ผลตอบแทนต่อต้นทุนลดลงเหลือ 1.54, 1.20 และ 0.80 ตามล่าดับ ทั้งนี้ เนื่องจากฟอสฟอรัสที่สูงเกินไป มีผลลด
                   ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารชนิดอื่นโดยอ้อม เช่น ลดการดูดใช้แคลเซียมกับโพแทสเซียม จากอ่านาจการ

                   เป็นปฏิปักษ์ระหว่างกันของธาตุอาหาร ส่งผลให้ผลผลิตลดลง ในขณะที่ มีต้นทุนจากการใช้ปุ๋ยเพิ่มขึ้น ดังนั้น

                   อัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสที่เหมาะสมส่าหรับการปลูกขมิ้นชันในดินที่มีการขาดแคลนฟอสฟอรัส คือ 9 กิโลกรัม P O
                                                                                                             2 5
                   ต่อไร่ ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรได้รับผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจคุ้มค่าสุด อย่างไรก็ตาม จากผลการทดลอง ชี้ให้เห็นว่า

                   อัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสสูงสุดที่ขมิ้นชันตอบสนองในดินที่ขาดแคลน คือ 9 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ดังนั้น ในบริเวณดิน
                                                                                      2 5
                   ทั่วไปที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในช่วงปานกลางถึงสูง สามารถลดอัตราปุ๋ยได้อีก ซึ่งจะช่วยให้

                   เกษตรกรได้รับผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น

                   ตารางที่ 3 ผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจจากการใช้อัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสแตกต่างกันส่าหรับขมิ้นชัน

                                                    1/
                                      Yield (kg/rai)  Cost of production   2/ Income       Profit
                      Treatments                                                                      3/ B/C ratio
                                         (kg/rai)        (Baht/rai)       (Baht/rai)     (Baht/rai)

                   T1, Farmers            644             14,342            19,308        4,966          1.35

                   T2, 0 kg P O /rai      648             15,625            19,443        3,818          1.24
                            2 5
                   T3, 4 kg P O /rai      884             15,834            26,517        10,683         1.67
                            2 5
                   T4, 9 kg P O /rai     1,186            16,044            35,580        19,536         2.22
                            2 5
                   T5, 13 kg P O /rai     837             16,253            25,098        8,845          1.54
                             2 5
                   T6, 18 kg P O /rai     656             16,463            19,686        3,223          1.20
                             2 5
                   T7, 22 kg P O /rai     446             16,672            13,377        -3295          0.80
                             2 5
                   หมายเหตุ: T1 ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ T2-T7 ได้รับปริมาณ N-K O-MgO-S อัตรา 23-50-
                                                                                           2
                   1.4-0.8 กิโลกรัมต่อไร่ เท่ากัน  ต้นทุนการผลิตอื่น ๆ ที่ยังไม่รวมค่าปุ๋ย = 13,342 บาทต่อไร่  ค่าเฉลี่ยราคา
                                                                                                   2/
                                             1/
                   ผลผลิตขมิ้นชันสด = 30 บาท/กิโลกรัม  Benefit-cost ratio = Income/Cost of production
                                                    3/
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59