Page 21 - ผลของการใช้ระบบน้ำหยดต่อผลผลิตและคุณภาพของอ้อยในดินด่างจังหวัดนครสวรรค์ Effects of drip irrigation on sugarcane yield and qualityon calcareous soil in Nakhonsawan province
P. 21
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ตารางที่ 2 ปริมาณการให้น้ำ อ้อยปลูก (ปีที่1) ลูกบาศก์เมตร ต่อ ไร่ต่อวัน
ปริมาณการให้น้ำอ้อย ตามช่วงอายุวัน (ลูกบาศก์เมตร ต่อ ไร่ต่อวัน)
วิธีการ
0 - 30 31 - 150 151 – 300 301 - 330
วิธีการที่ 1 แปลงควบคุม ไม่มีระบบน้ำหยด
วิธีการที่ 2 วิธีเกษตรกร ไม่มีระบบน้ำหยด
วิธีการที่ 3 0.85 3.55 8.15 5.15
วิธีการที่ 4 1.7 7.1 16.3 10.3
วิธีการที่ 5 2.55 10.65 24.45 15.45
ตารางที่ 3 ปริมาณการให้น้ำ อ้อยตอ (ปีที่ 2 และ 3 ) ลูกบาศก์เมตร ต่อ ไร่ต่อวัน
ปริมาณการให้น้ำอ้อย ตามช่วงอายุวัน (ลูกบาศก์เมตร ต่อ ไร่ต่อวัน)
วิธีการ
0 – 45 46 - 120 121 – 225 226 - 330 331 - 330
วิธีการที่ 1 แปลงควบคุม ไม่มีระบบน้ำหยด
วิธีการที่ 2 วิธีเกษตรกร ไม่มีระบบน้ำหยด
วิธีการที่ 3 2.7 2.1 4.7 10 2.6
วิธีการที่ 4 5.4 4.2 9.4 20 5.2
วิธีการที่ 5 8.1 6.3 14.1 30 7.8
3.2.5 ใส่ปุ๋ยเคมีตามแบบเกษตรกรในวิธีการที่ 2 สูตร 15-7-18 ปริมาณ 50
กิโลกรัมต่อไร่
3.2.6 ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าการวิเคราะห์ดิน (จากการคำนวณโดยโปรแกรมคำแนะนำ
การจัดการดินและปุ๋ยรายแปลง) ในวิธีการที่ 3 4 และวิธีการที่ 5 ปีแรกปริมาณธาตุอาหารที่แนะนำ
N-P2O5 -K2O เท่ากับ 6.81-6-12 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 18-46-0 ปริมาณ 13 กิโลกรัม
ต่อไร่ ร่วมกับ สูตร 46-0-0 ปริมาณ 9.7 กิโลกรัมต่อไร่ และ สูตร 0-0-60 ปริมาณ 20 กิโลกรัมต่อไร่
(ปีที่ 2 และปีที่ 3) ปริมาณธาตุอาหารที่แนะนำ N-P2O5-K2O เท่ากับ 12.28-9-18 กิโลกรัมต่อไร่ คิด
เป็น ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 ปริมาณ 19.60 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับ สูตร 46-0-0 ปริมาณ 5.4 กิโลกรัมต่อ
ไร่ และ สูตร 0-0-60 ปริมาณ 30 กิโลกรัมต่อไร่
3.2.7 ดูแลรักษา กำจัดวัชพืช และฉีดยากำจัดวัชพืช ตามความจำเป็น
3.3 การเก็บข้อมูล
3.3.1 ข้อมูลดิน
เก็บตัวอย่างดินก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง ที่ระดับความลึก 0-
15 เซนติเมตร เพื่อวิเคราะห์หาคุณสมบัติทางเคมีดิน (หาค่า pH %OM Available P และ
Exchangeable K)