Page 17 - ศึกษาอัตราส่วนผสมระหว่างปูนมาร์ล กรดซิลิคอนและถ่านชีวภาพเพื่อปั้นเม็ดเพื่อใช้ปรับปรุงบำรุงดินในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด Study the mixture ratio between marl, silicon and biochar to form pellets for increasing plant growth in acid sulfate soils
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ตารางที่ 2 แสดงปริมาณธาตุอาหาร (%) ของถ่านชีวภาพ (Biochar)
ถ่านชีวภาพ ค่าที่วัด
ความเป็นกรด-ด่าง (pH) 8.2
ปริมาณอินทรียวัตถุ(OM) (%) 7.57
ปริมาณฟอสฟอรัส(Total P O )(%) 0.90
2 5)
ปริมาณโพแทสเซียม(Total K O) (%) 0.42
2
ปริมาณแคลเซียม(Total CaO) (%) 0.23
ปริมาณแมกนีเซียม(Total MgO) (%) 0.12
ปริมาณ SiO (%) 38.5
2
*ความพรุนรวม (porosity) (มิลลิกรัมไอโอดีนต่อกรัมวัสดุ) 104.72
ที่มา: กลุ่มวิเคราะห์ดิน สพด.เขต 1
*วิธี Iodine method
ตารางที่ 3 แสดงผลวิเคราะห์ค่าความต้องการปูนก่อนการทดลอง
ลำดับที่ ตัวอย่าง pH LR
CaCO (กิโลกรัมต่อไร่)
3
1 ดิน 4.0 1872
นำถ่านชีวภาพที่ผ่านการบดและปูนมาร์ลมาวิเคราะห์คุณสมบัติต่างๆทางเคมี (ตารางที่ 2 และ
3) พบว่า ถ่านชีวภาพประกอบด้วยธาตุอาหารดังนี้ ได้แก่ pH เท่ากับ 8.2, ปริมาณอินทรียวัตถุ 7.57
เปอร์เซนต์, Total P O 0.90 เปอร์เซนต์, Total K O 0.42 เปอร์เซนต์, Total CaO 0.23 เปอร์เซนต์, Total
2 5
2
MgO 0.12 เปอร์เซนต์และ SiO 38.5 เปอร์เซ็นต์ และความพรุนรวมของวัสดุ (porosity) 104.72 มิลลิกรัม
2
ไอโอดีนต่อกรัมวัสดุ นำดินมาวิเราะห์ค่าความต้องการของปูนพบว่ามีค่า 1872 กิโลกรัมต่อไร่
17