Page 22 - ศึกษาอัตราส่วนผสมระหว่างปูนมาร์ล กรดซิลิคอนและถ่านชีวภาพเพื่อปั้นเม็ดเพื่อใช้ปรับปรุงบำรุงดินในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด Study the mixture ratio between marl, silicon and biochar to form pellets for increasing plant growth in acid sulfate soils
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
1.2. ผลการวิเคราะห์พืช
ตารางที่ 5 แสดงค่าเปอร์เซ็นต์ไนโตรเจน (%) ในใบพืช
ตำรับการทดลอง เปอร์เซ็นต์ไนโตรเจน (%)
T 1 ตำรับควบคุม (Control) 0.565 b
T 2 ใช้ปูนมาร์ล ตามค่าความต้องการของปูนของดิน 0.585 ab
T 3 ใช้กรดซิลิคอน 100 กก.ต่อไร่ 0.600 ab
T 4 ใช้ถ่านชีวภาพ อัตรา 2 ตันต่อไร่ 0.605 ab
T 5 ใช้ปูนมาร์ลผสมกรดซิลิคอนและถ่านชีวภาพ ปั้น 0.612 ab
เม็ดอัตราส่วน 1 : 1 : 1
T 6 ใช้ปูนมาร์ลผสมกรดซิลิคอนและถ่านชีวภาพ ปั้น 0.620 a
เม็ดอัตราส่วน 1 : 2 : 1
T 7 ใช้ปูนมาร์ลผสมกรดซิลิคอนและถ่านชีวภาพ ปั้น 0.615 ab
เม็ดอัตราส่วน 1 : 1 : 2
เฉลี่ย 0.96
CV 16.9%
ปริมาณเปอร์เซนต์ไนโตรเจนในใบพืช หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวโพดหวานหวาน พบว่า การใช้ปูน
มาร์ลผสมกรดซิลิคอนและถ่านชีวภาพ ให้ค่าปริมาณเปอร์เซนต์ไนโตรเจนในใบพืชมากกว่าตำรับควบคุม
โดยตำรับการทดลองที่มีการใช้ปูนมาร์ลผสมกรดซิลิคอนและถ่านชีวภาพปั้นเม็ดอัตราส่วน 1 : 2 : 1 มีปริมาณ
เปอร์เซนต์ไนโตรเจนในใบพืช สูงที่สุดเท่ากับ 0.620 เปอร์เซนต์ รองลงมาได้แก่ การใช้ปูนมาร์ลผสมกรด
ซิลิคอนและถ่านชีวภาพปั้นเม็ดอัตราส่วน 1 : 1 : 2 ปริมาณเปอร์เซนต์ไนโตรเจนในใบพืช 0.615 เปอร์เซนต์
และไม่แตกต่างทางสถิติกับการใช้ปูนมาร์ลผสมกรดซิลิคอนและถ่านชีวภาพ ปั้นเม็ดอัตราส่วน 1 : 1 : 1 การ
ใช้กรดซิลิคอน 100 กก.ต่อไร่ และการใช้ถ่านชีวภาพ อัตรา 2 ตันต่อไร่ ให้ปริมาณเปอร์เซนต์ไนโตรเจนในใบ
พืช 0.612 0.600 และ 0.605 เปอร์เซนต์ ตามลำดับ (ตารางที่ 5)
ตารางที่ 6 แสดงค่าความยาวใบพืช (เซนติเมตร)
ตำรับการทดลอง ความยาวใบพืช (เซนติเมตร)
T 1 ตำรับควบคุม (Control) 71.75 b
T 2 ใช้ปูนมาร์ล ตามค่าความต้องการของปูนของดิน 75.25 b
T 3 ใช้กรดซิลิคอน 100 กก.ต่อไร่ 80.25 a
T 4 ใช้ถ่านชีวภาพ อัตรา 2 ตันต่อไร่ 79.0 ab
T 5 ใช้ปูนมาร์ลผสมกรดซิลิคอนและถ่านชีวภาพ ปั้น 80.75 a
เม็ดอัตราส่วน 1 : 1 : 1
22