Page 23 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 23
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
โครงการยอยที่ 3 ผลการใชปุยชีวภาพและปุยอินทรียคุณภาพสูงตอขนาดและน้ําหนักของทะลาย
ของปาลมน้ํามันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
1. คัดเลือกพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันที่มีอายุ 5 ป ในเขตพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จํานวน 108 ตน (9
ตํารับการทดลอง ตํารับละ 3 ซ้ํา ซ้ําละ 4 ตน)
2. วางแผนการทดลองแบบ RCBD (Randomized Complex Block Design) จํานวน 9 ตํารับ
ตํารับละ 3 ซ้ํา
ตํารับที่ 1 แปลงควบคุม
ตํารับที่ 2 วิธีเกษตรกร
ตํารับที่ 3 ใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน
ตํารับที่ 4 ใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน รวมกับปุยอินทรียคุณภาพสูง
อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 5 ใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน รวมกับปุยอินทรียคุณภาพสูง
อัตรา 10 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 6 ใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน รวมกับปุยอินทรียคุณภาพสูง
อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 7 ใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน รวมกับปุยชีวภาพ พด.12
อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 8 ใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน รวมกับปุยชีวภาพ พด.12
อัตรา 10 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 9 ใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน รวมกับปุยชีวภาพ พด.12
อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน
หมายเหตุ 1. การใสปุยเคมีจะดําเนินการแบงใส 3 ครั้งตอป ในชวงตนฤดูฝน กลางฤดูฝน และ
ปลายฤดูฝน ใสรอบทรงพุมหรือหวานใหทั่วภายในทรงพุม
2. ใสจุลินทรีย พด.9 อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใสรอบทรงพุมทุกตํารับการทดลอง
3. ใสน้ําหมักชีวภาพ พด.2 อัตรา 2 มิลลิลิตรตอน้ํา 1 ลิตรตอตน ทุก 14 วัน
4. ใสปูนตามคาความตองการปูน (LR) ปละครั้งในตํารับที่ 3-9
3. เก็บตัวอยางดินกอนและหลังการทดลองที่ระดับ 0-30 เซนติเมตร การวิเคราะหตัวอยางดิน
วิเคราะหสมบัติทางเคมี ไดแก คาปฏิกิริยาดิน (pH 1:1 น้ํา Peech, 1965) ความตองการปูนของดิน
(Woodruff, 1948) ปริมาณอินทรียวัตถุ (Walkley and Black, 1947) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอ
พืช (Bray and Kurt, 1945) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนตอพืช (NH4OAc 1 N, pH 7; Jackson,
1958) ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได (NH4OAc 1 N, pH 7; Jackson, 1958) ปริมาณธาตุ
อาหารเสริมไดแก เหล็ก และแมงกานีส (DTPA, pH 7; Bower, 1952) ปริมาณอะลูมินัมที่แลกเปลี่ยนได
(Aluminon ; McLean, 1965) ปริมาณกํามะถันที่สกัดได (Bradsley and Lancaster, 1965)
4. การเก็บขอมูลพืช กอนดําเนินการทดลองและหลังดําเนินการทดลองทุกป โดยการเก็บตัวอยาง
ใบพืชจากทางใบที่ 17 บริเวณกึ่งกลางทางใบ จํานวน 6 ใบยอยของแตละดาน ตัดเอาสวนที่อยูกึ่งกลางของใบ
ยอยความยาวประมาณ 10 นิ้ว ทําความสะอาดใบ ตัดกานและขอบใบออกขางละ 1 มิลลิเมตร (ประกิจ และ
คณะ, 2543) สงตัวอยางเพื่อวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารในใบปาลมน้ํามัน ไดแก ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด
(Total N) ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total P) ปริมาณโพแทสเซียมทั้งหมด (Total K) ปริมาณแคลเซียม
ทั้งหมด (Total Ca) และปริมาณแมกนีเซียมทั้งหมด (Total Mg)
18