Page 28 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                         สรุปผลการทดลอง
                                 การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชตอการผลิตของ
                      ปาลมน้ํามันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง สามารถแบงการจัดการตามชวงอายุของปาลมน้ํามัน คือ ชวงกอนใหผล
                      ผลิต ปาลมน้ํามันอายุ 1–3 ป เกษตรกรควรปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดดวยการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน
                      (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อ

                      ดวยจุลินทรียซ ุปเปอร พด.9 อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน และเมื่อปาลมน้ํามันเริ่มใหผลผลิต (อายุ 3-5 ป) ควรมี
                      การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใส 30% ของปุยเคมีตามอัตราแนะนําของกรม
                      วิชาการเกษตร รวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน และเมื่อปาลมน้ํามันที่ใหผลผลิตแลว ชวง
                      อายุ 5 ป ขึ้นไป ควรมีการจัดการดินเปรี้ยวจัดโดยการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับปุยเคมี
                      อัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 10 กิโลกรัมตอตน

                                                            ขอเสนอแนะ
                              หากเกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันมีการนําเศษวัสดุที่เหลือใชจากการทําการเกษตรที่เหลือใชเปน
                      วัตถุดิบในการผลิตปุยหมัก น้ําหมักชีวภาพ และปุยอินทรียคุณภาพสูง จะเปนแนวทางหนึ่งในการลดตนทุนผัน

                      แปรรวม และสามารถเพิ่มรายไดเหนือตนทุนผันแปรได

                                                          ประโยชนที่ไดรับ
                              1. ไดแนวทางในการจัดการดินเปรี้ยวจัดใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตในแตละชวง
                      อายุของปาลมน้ํามัน
                              2. สามารถนําไปเผยแพรใหแกเกษตรกรและผูที่สนใจ รวมทั้งสถาบันทางการศึกษาและหนวยใน
                      สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อการสงเสริมและตอยอดการวิจัยเพื่อพัฒนาไปสูการลดตนทุน และเพิ่ม
                      ผลผลิตปาลมน้ํามันตอไป





















                                                                                                         23
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32