Page 25 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      กิโลกรัมตอตน และเมื่อปาลมน้ํามันอายุ 3 ป ควรมีการจัดการดินเปรี้ยวจัดโดยการใสโดโลไมทตามคาความ
                      ตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีสูตร 21-0-0 อัตรา 2.5 กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร 0-3-0 อัตรา 1.5
                      กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 1.5 กิโลกรัมตอตน และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซ ุปเปอร
                      พด.9 อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน โดยปุยเคมีแบงใส 3 ครั้งตอป สัดสวน 50 : 25 : 25 เปอรเซ็นต ในชวงตนฤดูฝน
                      กลางฤดูฝน และปลายฤดูฝน

                                       1.2 ปาลมน้ํามันเริ่มใหผลผลิต อายุ 3-5 ป ไดทําการศึกษาผลการใชปุยชีวภาพและลด
                      อัตราปุยเคมีตอการเพิ่มผลผลิตของปาลมน้ํามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง โดยทําการศึกษาสมบัติ
                      ทางเคมีของดิน การเจริญเติบโตและผลผลิตของปาลมน้ํามัน ตนทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ เพื่อเปน
                      แนวทางในการจัดการดินเปรี้ยวจัด ดวยการจัดการธาตุอาหารพืชรวมกับเทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนา
                      ที่ดินใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของปาลมน้ํามันในดินเปรี้ยวจัด ซึ่งสมบัติทางเคมีของดินหลัง
                      การทดลอง พบวา คาปฏิกิริยาดินมีคาเพิ่มสูงขึ้นในตํารับที่มีการใสปุยอินทรีย เมื่อเปรียบเทียบกับตํารับที่ไมมี
                      การใสปุยอินทรีย ความตองการปูนของดินในตํารับที่มีการใสปุยอินทรีย จะมีปริมาณลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับ
                      ตํารับที่ไมมีการใสปุยอินทรีย ปริมาณอินทรียวัตถุในดินจะเพิ่มขึ้นทุกตํารับ ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในดิน
                      ลดลงในทุกตํารับ ยกเวนการใส 30 % ของปุยเคมีตามอัตราแนะนําของกรมวิชาการเกษตร รวมกับปุยชีวภาพ

                      พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตนและการใส 40 % ของปุยเคมีตามอัตราแนะนําของกรมวิชาการเกษตร รวมกับ
                      ปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน สวนปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน โพแทสเซียมที่เปน
                      ประโยชน แคลเซียมและแมกนีเซียมที่สกัดได มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกตํารับ การเจริญเติบโตและผลผลิตของ
                      ปาลมน้ํามัน พบวา ตํารับที่ 6 ที่มีการใส 30 % ของปุยเคมีตามอัตราแนะนําของกรมวิชาการเกษตร รวมกับปุย
                      ชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน มีผลทําใหปาลมน้ํามันมีการเจริญเติบโตและใหผลผลิตสูงที่สุด
                      กลาวคือ เมื่อปาลมน้ํามันอายุ 4 ป (ป 2562) การเจริญเติบโตของความยาวใบ ความกวางใบ เทากับ 80.50,
                      4.70 เซนติเมตร ตามลําดับ ใหผลผลิตปาลมน้ํามันเฉลี่ย 13.78 ทะลายตอตนตอป และมีน้ําหนักผลผลิต
                      เทากับ 3,392.64 กิโลกรัมตอไรตอป และเมื่อปาลมน้ํามันอายุ 5 ป (ป 2563) การเจริญเติบโตของความยาวใบ

                      ความกวางใบ เทากับ 94.13, 4.63 เซนติเมตร ตามลําดับ ใหผลผลิตปาลมน้ํามันเฉลี่ย 20.73 ทะลายตอตนตอ
                      ป และมีน้ําหนักผลผลิตเทากับ 4,719.73 กิโลกรัมตอไรตอป ดังนั้น การจัดการดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูกปาลม
                      น้ํามัน ที่มีอายุ 3-5 ป ควรมีการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใส 30 % ของปุยเคมี
                      ตามอัตราแนะนําของกรมวิชาการเกษตร รวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน กลาวคือ ปาลม
                      น้ํามันอายุ 3 ป ควรมีการจัดการดินเปรี้ยวจัดโดยการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใส
                      ปุยเคมีสูตร 21-0-0 อัตรา 1.5 กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร 0-3-0 อัตรา 0.9 กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร 0-0-60 อัตรา
                      0.9 กิโลกรัมตอตน และใสปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน เมื่อปาลมน้ํามันอายุ 4 ป ควรมีการ
                      จัดการดินเปรี้ยวจัดโดยการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีสูตร 21-0-0 อัตรา
                      1.5 กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร 0-3-0 อัตรา 0.9 กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 1.2 กิโลกรัมตอตน และใส

                      ปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน และเมื่อปาลมน้ํามันอายุ 5 ป ควรมีการจัดการดินเปรี้ยวจัดโดย
                      การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีสูตร 21-0-0 อัตรา 1.5 กิโลกรัมตอตน ปุย
                      สูตร 0-3-0 อัตรา 0.9 กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 1.2 กิโลกรัมตอตน และใสปุยชีวภาพ พด.12
                      อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน โดยปุยเคมีแบงใส 3 ครั้งตอป สัดสวน 50 : 25 : 25 เปอรเซ็นต ในชวงตนฤดูฝน
                      กลางฤดูฝน และปลายฤดูฝน
                                       1.3 ปาลมน้ํามันที่ใหผลผลิตแลว ชวงอายุ 5 ป ขึ้นไป ไดทําการศึกษาผลการใชปุย
                      ชีวภาพและปุยอินทรียคุณภาพสูงตอขนาดและน้ําหนักของทะลายของปาลมน้ํามันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด

                      จังหวัดพัทลุง โดยทําการศึกษาสมบัติทางเคมีของดิน ขนาดและน้ําหนักของทะลายของปาลมน้ํามัน ตนทุน

                                                                                                         20
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30