Page 24 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                 5. บันทึกขอมูลผลผลิตปาลมน้ํามัน ประกอบดวยขนาดและน้ําหนักของทะลาย
                                 6. วิเคราะหขอมูลผลผลิตปาลมน้ํามัน ประกอบดวยขนาดและน้ําหนักของทะลาย โดยใช
                      Analysis of variance (ANOVA) เปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยวิธี Least significant difference test (LSD)
                      และใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS
                                 7. การวิเคราะหขอมูลผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจ เก็บขอมูลตนทุนตอไรตอป (บาท) ผลผลิต

                      ตอไรตอป (กิโลกรัม) ราคาผลผลิตตอกิโลกรัม (บาท) รายไดตอไรตอป และกําไรตอไรตอป แยกตามวิธีการ
                      ทดลอง
                                 8. สรุปผลการทดลอง

                                                      ผลการทดลองและวิจารณ
                                 การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชตอการผลิตของ
                      ปาลมน้ํามันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง การศึกษาสามารถแบงการจัดการดินตามชวงอายุของปาลมน้ํามัน คือ ชวง
                      กอนใหผลผลิต ปาลมน้ํามันอายุ 1–3 ป ชวงปาลมเริ่มใหผลผลิต ปาลมน้ํามันอายุ 3-5 ป และปาลมน้ํามันที่
                      ใหผลผลิตแลว ชวงอายุ 5 ป ขึ้นไป ซึ่งมีการจัดการที่แตกตางกัน เพื่อศึกษาการจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสม

                      โดยการใชโดโลไมทในการปรับสภาพดิน และการเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยการใชน้ําหมักชีวภาพ พด.2
                      ปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 ปุยชีวภาพ พด.12 ปุยคอก และปุยเคมีในอัตราครึ่งหนึ่งของ
                      อัตราแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และตามคาวิเคราะหดิน เพื่อเพิ่มผลิตภาพและศักยภาพของดินเปรี้ยวจัด
                      ในการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามัน ตนทุนการผลิต และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะไดใชเปนแนวทาง
                      ปฏิบัติขยายผลสูเกษตรกรในพื้นที่ที่มีสภาพปญหาเดียวกันตอไป ผลการศึกษาดังนี้
                                 1. การเจริญเติบโตและใหผลผลิต

                                        1.1 ปาลมน้ํามันกอนใหผลผลิต อายุ 1-3 ป ไดทําการศึกษาผลการใชปุยอินทรียรวมกับ
                      ปูนโดโลไมทตอการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง โดยทําการศึกษาสมบัติทาง
                      เคมีของดิน การเจริญเติบโตและผลผลิตของปาลมน้ํามัน ตนทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ เพื่อเปน
                      แนวทางในการจัดการดินเปรี้ยวจัด ดวยการจัดการธาตุอาหารพืช รวมกับเทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนา
                      ที่ดินใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโต และผลผลิตของปาลมน้ํามันในดินเปรี้ยวจัด พบวา การปรับปรุงดิน
                      เปรี้ยวจัด โดยการใสปูนโดโลไมทอัตราความตองการปูน รวมกับการใชปุยเคมีในอัตราครึ่งหนึ่ง และใชปุย
                      อินทรีย พด.9 หรือ ปุยชีวภาพ พด.12 จะชวยใหปฏิกิริยาดินเพิ่มขึ้น ชวยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ และธาตุ
                      อาหารในดินได ทําใหปริมาณธาตุอาหารในใบอยูในระดับที่เหมาะสม สงผลใหปาลมน้ํามันมีการเจริญเติบโตไม

                      แตกตางกัน โดยตํารับที่ 5 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่ง
                      ตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซ ุปเปอร พด.9 เปนวิธีที่ดีที่สุด
                      ที่ทําใหปาลมน้ํามันมีผลผลิตสูงที่สุดในปแรก เทากับ 1,377.20 กิโลกรัมตอไร ดังนั้น การจัดการดินเปรี้ยวจัด
                      เพื่อปลูกปาลมน้ํามัน อายุ 1-3 ป ควรมีการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมี
                      อัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซ ุปเปอร พด.9
                      กลาวคือ ปาลมน้ํามันอายุ 1 ป ควรมีการจัดการดินเปรี้ยวจัดโดยการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR)
                      รวมกับการใสปุยเคมีสูตร 21-0-0 อัตรา 0.6 กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร 0-3-0 อัตรา 0.7 กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร

                      0-0-60 อัตรา 0.3 กิโลกรัมตอตน และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซ ุปเปอร พด.9 อัตรา 3 กิโลกรัม
                      ตอตน เมื่อปาลมน้ํามันอายุ 2 ป ควรมีการจัดการดินเปรี้ยวจัดโดยการใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน
                      (LR) รวมกับการใสปุยเคมีสูตร 21-0-0 อัตรา 1.8 กิโลกรัมตอตน ปุยสูตร 0-3-0 อัตรา 1.5 กิโลกรัมตอตน ปุย
                      สูตร 0-0-60 อัตรา 1.3 กิโลกรัมตอตน และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซ ุปเปอร พด.9 อัตรา 3

                                                                                                         19
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29