Page 26 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                      และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ เพื่อเปนแนวทางในการจัดการดินเปรี้ยวจัด ดวยปุยอินทรียและ
                      เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินใหเหมาะสม ตอขนาดและน้ําหนักของทะลายของปาลมน้ํามันที่ปลูกใน
                      พื้นที่ดินเปรี้ยวจัด ซึ่งสมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลอง พบวา คาปฏิกิริยาดินมีคาเพิ่มสูงขึ้นในตํารับที่มี
                      การใสปุยอินทรียเมื่อเปรียบเทียบกับตํารับที่ไมมีการใสปุยอินทรีย ความตองการปูนของดินในตํารับตํารับที่มี
                      การใสปุยอินทรียจะมีปริมาณลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับตํารับที่ไมมีการใสปุยอินทรีย ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน

                      จะเพิ่มขึ้นทุกตํารับ ยกเวนตํารับที่ใสเฉพาะปุยเคมี ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดของดินเพิ่มเล็กนอยในทุกตํารับ
                      ยกเวนแปลงควบคุม สวนปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน โพแทสเซียมที่เปนประโยชน แคลเซียม และ
                      แมกนีเซียมมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกตํารับ สําหรับขนาดและน้ําหนักของทะลาย และน้ําหนักสดผลผลิตของ
                      ปาลมน้ํามัน พบวา ตํารับที่ 8 ที่มีการใสโดโลไมทตามอัตราคาความตองการปูน (LR) รวมกับปุยเคมีอัตรา
                      ครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดินรวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 10 กิโลกรัมตอตน จะทําใหปาลมน้ํามันอายุ 5-7
                      ป มีคาเฉลี่ยเสนรอบวงของทะลาย น้ําหนักสดตอทะลาย และน้ําหนักผลผลิตตอไรมากที่สุด กลาวคือ ปาลม
                      อายุ 5 ป (ป 2561) ปาลมน้ํามันมีคาเฉลี่ยเสนรอบวงของทะลายปาลมน้ํามัน เทากับ 93.96 เซนติเมตร
                      น้ําหนักสดตอทะลายเฉลี่ย 13.32 กิโลกรัม และน้ําหนักผลผลิตเทากับ 3,396.55 กิโลกรัมตอไรตอป และเมื่อ
                      ปาลมน้ํามันอายุ 6 ป ปาลมน้ํามันมีคาเฉลี่ยเสนรอบวงของทะลายปาลมน้ํามัน เทากับ 95.12 เซนติเมตร

                      น้ําหนักสดตอทะลายเฉลี่ย 10.01 กิโลกรัม และน้ําหนักผลผลิตเทากับ 3,220.01 กิโลกรัมตอไรตอป
                      เชนเดียวกับปาลมอายุ 7 ป (ป 2563) ปาลมน้ํามันมีคาเฉลี่ยเสนรอบวงของทะลายปาลมน้ํามัน เทากับ 96.07
                      เซนติเมตร น้ําหนักสดตอทะลายเฉลี่ย 12.37 กิโลกรัม และน้ําหนักผลผลิตเทากับ 3,029.31 กิโลกรัมตอไรตอ
                      ป ดังนั้น ปาลมน้ํามันชวงอายุ 5-7 ป ควรมีการตรวจวิเคราะหดินกอนการใสปุย โดยมีการใสโดโลไมทตามคา
                      ความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยในอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 10
                      กิโลกรัมตอตน โดยปุยเคมีแบงใส 3 ครั้งตอป สัดสวน 50 : 25 : 25 เปอรเซ็นต ในชวงตนฤดูฝน กลางฤดูฝน
                      และปลายฤดูฝน

                                 2. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
                                 จากการศึกษาตนทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการจัดการดินเปรี้ยวจัด ที่เหมาะสมเพื่อ
                      ความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชตอการผลิตของปาลมน้ํามันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง ซึ่งมีการจัดการที่
                      แตกตางกัน ตามชวงอายุของปาลมน้ํามัน คือ ชวงกอนใหผลผลิต ปาลมน้ํามันอายุ 1–3 ป ชวงปาลมเริ่มให
                      ผลผลิต ปาลมน้ํามันอายุ 3-5 ป และปาลมน้ํามันที่ใหผลผลิตแลว ชวงอายุ 5 ป ขึ้นไป โดยการใชโดโลไมทใน
                      การปรับสภาพดิน และการเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยการใชน้ําหมักชีวภาพ พด.2 ปุยอินทรียที่ขยาย
                      เชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 ปุยชีวภาพ พด.12 ปุยคอก และปุยเคมีในอัตราครึ่งหนึ่งของอัตราแนะนําของ
                      กรมวิชาการเกษตรและตามคาวิเคราะหดิน โดยในการสรุปตนทุนผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ไดนําเอาขอมูล
                      ตํารับที่ใหผลผลิตสูงที่สุดในแตละชวงเวลาที่ทําการศึกษามาวิเคราะห พบวา ปาลมน้ํามันที่อายุแตกตางกัน
                      การใชปจจัยการผลิตในการปรับปรุงดินที่แตกตางกัน ซึ่งในชวง 1-3 ปแรกของการปลูกปาลมน้ํามันในพื้นที่ดิน

                      เปรี้ยวจัด สวนใหญจะเปนคาลงทุน ไดแก คาขุดยกรอง คาพันธุปาลม คาปุย คาวัสดุปรับปรุงดิน เปนตน แต
                      เนื่องจากปาลมน้ํามันเริ่มใหผลผลิตในปที่ 3 ทําใหผลตอบแทนเหนือตนทุนการผลิตทั้งหมดติดลบหรือยังไมมี
                      กําไร และเมื่อปาลมน้ํามันอายุ 4-5 ป (ป 2562-2563) ตํารับที่ 6 ที่มีการใส 30 % ของปุยเคมีตามอัตรา
                      แนะนําของกรมวิชาการเกษตร รวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน ซึ่งเปนตํารับที่ดีที่สุด ทําให
                      ปาลมน้ํามันมีรายไดเหนือตนทุนทั้งหมดมากที่สุดเทากับ 3,615.13 และ 9,586.59 บาทตอไร ตามลําดับ และ
                      เมื่อปาลมน้ํามัน อายุ 6-7 ป (ป 2562-2563) ตํารับที่ 8 ที่มีการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน
                      รวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 10 กิโลกรัมตอตน ซึ่งเปนตํารับที่ดีที่สุด ทําใหปาลมน้ํามันมีรายไดเหนือตนทุน

                      ทั้งหมดมากที่สุดเทากับ 4,575.05 และ 3,769.48 บาทตอไร ตามลําดับ ซึ่งเมื่อพิจารณากําไรสะสม พบวาการ

                                                                                                         21
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31