Page 22 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
โครงการยอยที่ 2 ผลการใชปุยชีวภาพและลดอัตราปุยเคมีตอการเพิ่มผลผลิตของปาลมน้ํามันใน
พื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
1. คัดเลือกพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันที่มีอายุ 3 ป ในเขตพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จํานวน 108 ตน (9
ตํารับการทดลอง ตํารับละ 3 ซ้ํา ซ้ําละ 4 ตน)
2. วางแผนการทดลองแบบ RCBD (Randomized Complex Block Design) จํานวน 9 ตํารับ
ตํารับละ 3 ซ้ํา
ตํารับที่ 1 แปลงควบคุม
ตํารับที่ 2 วิธีเกษตรกร
ตํารับที่ 3 ใสปุยเคมีตามอัตราแนะนํา
ตํารับที่ 4 ใส 30% ปุยเคมีตามอัตราแนะนํารวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 5 ใส 30% ปุยเคมีตามอัตราแนะนํารวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 10 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 6 ใส 30 % ปุยเคมีตามอัตราแนะนํารวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 7 ใส 40 % ปุยเคมีตามอัตราแนะนํารวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 8 ใส 40 % ปุยเคมีตามอัตราแนะนํารวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 10 กิโลกรัมตอตน
ตํารับที่ 9 ใส 40 % ปุยเคมีตามอัตราแนะนํารวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน
หมายเหตุ 1. ทุกตํารับการทดลองใสปูนตามคาความตองการปูน (LR)
2. ใสปุยชีวภาพ พด.12 แบงใส 3 ครั้งตอตนในแตละตํารับ
3. ใสจุลินทรีย พด.9 อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใสรอบทรงพุมทุกตํารับการทดลอง
4. ใสน้ําหมักชีวภาพ พด.2 อัตรา 2 มิลลิลิตรตอน้ํา 1 ลิตรตอตน ทุก 14 วัน
3. เก็บตัวอยางดินกอนและหลังการทดลองที่ระดับ 0-30 เซนติเมตร การวิเคราะหตัวอยางดิน
วิเคราะหสมบัติทางเคมี ไดแก คาปฏิกิริยาดิน (pH 1:1 น้ํา Peech, 1965) ความตองการปูนของดิน
(Woodruff, 1948) ปริมาณอินทรียวัตถุ (Walkley and Black, 1947) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอ
พืช (Bray and Kurt, 1945) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนตอพืช (NH 4OAc 1 N, pH 7; Jackson,
1958) ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได (NH4OAc 1 N, pH 7; Jackson, 1958) ปริมาณ
ธาตุอาหารเสริมไดแก เหล็ก และแมงกานีส (DTPA, pH 7; Bower, 1952) ปริมาณอะลูมินัมที่แลกเปลี่ยนได
(Aluminon ; McLean, 1965) ปริมาณกํามะถันที่สกัดได (Bradsley and Lancaster, 1965)
4. การเก็บขอมูลพืช กอนดําเนินการทดลองและหลังดําเนินการทดลองทุกป โดยการเก็บตัวอยาง
ใบพืชจากทางใบที่ 17 บริเวณกึ่งกลางทางใบ จํานวน 6 ใบยอยของแตละดาน ตัดเอาสวนที่อยูกึ่งกลางของใบ
ยอยความยาวประมาณ 10 นิ้ว ทําความสะอาดใบ ตัดกานและขอบใบออกขางละ 1 มิลลิเมตร (ประกิจ และ
คณะ, 2543) สงตัวอยางเพื่อวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารในใบปาลมน้ํามัน ไดแก ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด
(Total N) ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total P) ปริมาณโพแทสเซียมทั้งหมด (Total K) ปริมาณแคลเซียม
ทั้งหมด (Total Ca) และปริมาณแมกนีเซียมทั้งหมด (Total Mg)
5. บันทึกขอมูลผลผลิตปาลมน้ํามัน ประกอบดวยขนาดและน้ําหนักของทะลาย
6. วิเคราะหขอมูลผลผลิตปาลมน้ํามัน ประกอบดวยขนาดและน้ําหนักของทะลาย โดยใช
Analysis of variance (ANOVA) เปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยวิธี Least significant difference test (LSD)
และใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS
7. การวิเคราะหขอมูลผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจ เก็บขอมูลตนทุนตอไรตอป (บาท) ผลผลิต
ตอไรตอป (กิโลกรัม) ราคาผลผลิตตอกิโลกรัม (บาท) รายไดตอไรตอป และกําไรตอไรตอป แยกตามวิธีการ
ทดลอง
8. สรุปผลการทดลอง
17