Page 20 - การจัดการดินเปรี้ยวจัดที่เหมาะสมเพื่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชต่อการผลิตของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในจังหวัดพัทลุง Appropriate management of acid sulfate soil to increasing the availableof plant nutrient with for manufacture on oil palm in Phattalung
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                 5. ปูนโดโลไมท [CaMg(CO3)2] เปนแรเกิดจากตะกอนของแคลเซียมและแมกนีเซียมทับถมกัน มี
                      สีตางๆ เชน เทา ชมพู ขาว มีลักษณะคลายแรคัลไซต โดยทั่วไปปูนโดโลไมทเปนแรที่เกิดจากการปะปนมากับ
                      หินปูนประเภท dolomitic limestone หินโดโลไมทบดใชเปนวัสดุปูนไดดี และนอกจากจะชวยยกระดับ pH
                      ของดินไดแลว ยังเพิ่มความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชพวกไนโตรเจน ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม
                      ซิลิกา และโมลิบดินัม ชวยเพิ่มและสงเสริมกิจกรรมของจุลินทรียดินที่เปนประโยชนตอพืช ชวยลดการเกิดโรค

                      รากเนา โคนเนาของพืช และควบคุมปริมาณกรดอินทรีย กาซคารบอนไดออกไซด ความเขมขนของเหล็ก
                      อะลูมินั่ม ตลอดจนสารพิษตางๆ เชน ไพไรท และไฮโดรเจนซัลไฟด ในสารละลายดิน มิใหมีการสะสมมาก
                      เกินไปจนเปนพิษ มีคา CCE อยูระหวาง 60-100 เปอรเซ็นต และปูนโดโลไมทที่ใชในการปรับปรุงดินควรมีคา
                      CCE ไมต่ํากวา 90% (เจริญและรสมาลิน, 2542)

                                                    ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินการ

                      ระยะเวลาทําการวิจัย  เริ่มตน  เดือนตุลาคม       พ.ศ. 2560
                                          สิ้นสุด  เดือนกันยายน      พ.ศ. 2563
                      สถานที่ดําเนินการ   หมู 2 ตําบลปากพะยูน อําเภอปากพะยูน  จังหวัดพัทลุง


                                                       วัสดุ อุปกรณและวิธีการ

                      วัสดุและอุปกรณ
                           1. วัสดุเกษตรที่ใชในการศึกษา ไดแก วัสดุปูนโดโลไมท ปุยเคมีปุยสูตร 15-15-15, 13-13-21, 21-0-0,
                      0-3-0, 18-46-0 และ 0-0-60 น้ําหมักชีวภาพ พด.2 ปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยสารเรง ซูปเปอร พด.9 ปุย
                      ชีวภาพ พด.12 มูลไกแกลบ ปุยอินทรียคุณภาพสูง
                           2. อุปกรณสําหรับการเก็บขอมูลวิจัย เชน ถุงเก็บตัวอยางดิน ไมบรรทัด ไมเมตร ปากกาเคมี เปนตน

                      วิธีการทดลอง
                           1. การคัดเลือกพื้นที่วิจัยและสถานที่เก็บขอมูล
                              คัดเลือกพื้นที่แปลงปาลมน้ํามัน หมูที่ 2 ตําบลปากพะยูน อําเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
                           2. วิธีการทดลอง

                           โครงการยอยที่ 1 ผลการใชปุยอินทรียรวมกับปูนโดโลไมทตอการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามันในพื้น
                      ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
                                 1. คัดเลือกพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันที่มีอายุ 1 ป ในเขตพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด หมูที่ 2 ตําบลปากพะยูน
                      อําเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
                                 2. วางแผนการวิจัยแบบ Randomized complete block design (RCBD) จํานวน 9 ตํารับ
                      ตํารับละ 3 ซ้ํา ซึ่งมีวิธีการที่กําหนดในการวิจัยไวดังนี้
                                 ตํารับที่ 1 ใสปุยตามวิธีเกษตรกร (แปลงควบคุม)

                                 ตํารับที่ 2 ใสปุยเคมีตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร
                                 ตํารับที่ 3 ใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน
                                 ตํารับที่ 4 ใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน ( LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตาม
                      คําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยชีวภาพ พด.12
                                 ตํารับที่ 5 ใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน ( LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตาม
                      คําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9



                                                                                                         15
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25