Page 18 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           2-6




                  2.3  ดีปลี

                        ชื่อวิทยาศาสตร    Piper retrofractum Vahl

                        ชื่อวงษ        Piperaceae

                        ชื่อสามัญ       Long pepper, Indian long pepper, Javanese long pepper
                        ชื่อทองถิ่น      ดีปลีเชือก (ภาคใต) ปานนุ ประดงขอ (ภาคกลาง) พิษพญาไฟ ปกผัวะ


                        2.3.1 ลักษณะทั่วไป

                            ตนดีปลี มีถิ่นกําเนิดที่เกาะโมลัคคาส (Moluccas)  ในมหาสมุทรอินเดีย แตไดมีการนํา

                  มาปลูกและแพรกระจายในประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซีย โดยจัดเปนไมเถามีรากฝอยออกบริเวณ
                  ขอเพื่อใชยึดเกาะและเลื้อยพัน เถาคอนขางเหนียวและแข็ง มีขอนูน แตกกิ่งกานสาขามาก เจริญเติบโต

                  ไดดีในที่ชุมชื้น มีแสงแดดรําไร



























                  ภาพจาก : https://puechkaset.com


                            ใบดีปลี มีใบเปนใบเดี่ยว ลักษณะเปนรูปไขแกมขอบขนาน ใบมีสีเขียวเขมเปนมัน ปลายใบ
                  แหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบเปนคลื่นเล็กนอย ใบกวางประมาณ 3-5 เซนติเมตร และยาวประมาณ

                  7-10 เซนติเมตร มีเสนใบออกจากโคนประมาณ 3-5 เสน สวนกานใบยาวประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร



















                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23