Page 15 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           2-3




                  2.2  เกกฮวย

                        ชื่อวิทยาศาสตร  Chrysanthemum morifolium Ramat. (เกกฮวยขาว)
                                  Chrysanthemum indicum L. (เกกฮวยเหลือง)

                        ชื่อวงษ      Compositae

                        ชื่อสามัญ     Chrysanthemum
                        ชื่อทองถิ่น    เบญจมาศสวน เบญจมาศหนู (ไทยภาคกลาง) เกกฮวย (จีน)

                        2.2.1 ลักษณะทั่วไป


                            เปนไมดอกตระกูลเดียวกับทานตะวัน ปลูกมากทางภาคเหนือ เปนไมลมลุกลําตนตรง
                  ลักษณะใบเปนรูปไข ปลายใบแหลม ขอบเวา ออกดอกเปนกระจุก ดอกสีเหลืองขนาดเล็ก ดอกเกกฮวย

                  จะเก็บเมื่อดอกบาน นํามาตากแหงเก็บไวไดนาน ตมกับน้ําจะมีสีเหลืองออน

                             เกกฮวยเปนไมลมลุกอายุหลายป สูง 30-120  ซม. มีกลิ่นหอม ทุกสวนมีขนนุมสีขาว
                  ใบเดี่ยว เวียนสลับ  รูปไข ขนาดแตกตางกัน ขอบใบจักเปนแฉกคลายขนนก ดอกออกเปนกระจุก

                  ตามซอกใบ ขนาดและรูปรางแตกตางกัน บานเต็มที่ 2-3  ซม. กลีบดอกสีขาว เหลือง ชมพู แดง มวง
                  น้ําตาล ขึ้นอยูกับสายพันธุ กลีบดอกรูปทอทั้งหมด ออกดอกตลอดป ดอกจะเล็กใหญขึ้นกับสายพันธุและ

                  ดินอุดมสมบูรณหรือไม ผล แหง เปนสัน เกลี้ยง เมล็ด ขนาดเล็กมาก การขยายพันธุดวยเมล็ดซึ่งมีขนาด

                  เล็กมาก คอนขางยาก จึงนิยมเพาะกลาขยายพันธุดวยการปกชําหรือการแยกหนอ





























                  ภาพจาก : https://medthai.com









                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20