Page 13 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน







                                                         บทที่ 2


                                                      ขอมูลทั่วไป



                  2.1  กระเจี๊ยบแดง

                        ชื่อวิทยาศาสตร  Hibiscus sabdariffa

                        ชื่อวงษ       Malvaceae
                        ชื่อสามัญ      Jamaica sorrel, Roselle, Red sorrel, Rozelle.

                        ชื่อทองถิ่น    กระเจี๊ยบ กระเจี๊ยบแดง กระเจี๊ยบเปรี้ยว (ภาคกลาง)  ผักเกงเขง สมเกงเคง

                  สมพอเหมาะ (ภาคเหนือ) สมตะเลงเครง (ตาก) สมปู (แมฮองสอน) สมพอดี (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

                        2.1.1 ลักษณะทั่วไป

                             กระเจี๊ยบแดงนั้นเปนพืชสมุนไพร 33จําพวกตน เปนไมพุม สูงประมาณ 50-180  เซนติเมตร

                  มีสี33มวงอมแดง เปนใบเดี่ยว คลายรูปฝามือมี 3 แฉก หรือ 5 แฉก ขอบใบเปนฟนเลื่อย ความกวางและ

                  ยาวประมาณ 8-15  เซนติเมตร สวนดอก 33นั้นออกเปนดอกเดี่ยวตามซอกใบ กลีบดอกชมพูหรือเหลือง
                  กานดอกสั้น มีประมาณ 8-12  กลีบ เมื่อดอกกระเจี๊ยบแดงเจริญเต็มที่จะมีเสนผานศูนยกลางประมาณ

                  6 เซนติเมตร และผลนั้นจะมีปลา33ยแหลมเปนรูปรี ยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร เมื่อผลออนเปนสีเขียว

                  สวนผลแกจะแตกออกเปน 5  แฉก เมล็ดสีน้ําตาล ตลอดจนตัวผลจะมีกลีบเลี้ยง สีแดงหนาชุมน้ํา
                  หุมผลไว






























                  ภาพจาก : https://www.aroka108.com/กระเจี๊ยบแดง-สมุนไพร-ขอมูลสุขภาพ33







                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18