Page 14 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           2-2





                        2.1.2 สภาพแวดลอมที่เหมาะสม

                            เจริญเติบโตไดดีในเขตกึ่งรอน อุณหภูมิที่เหมาะสมประมาณ 18-35 องศาเซลเซียส

                  ชอบอากาศรอนหรือคอนขางรอน ทนตอความแหงแลง และไมชอบน้ําขัง ขึ้นไดในดินทุกชนิด แตที่
                  เหมาะสมเปนพิเศษ คือ ดินเนินเขา ดินสีแดง ดินควรมีความเปนกรดดางระหวาง 6.6-6.8 เจริญไดในที่

                  โลงแจง สภาพแสงแดดจัดเต็มวัน เปนพืชที่ไวตอแสง จะออกดอกเมื่อวันสั้น ดังนั้นจึงตองการชวงแสง
                  13 ชั่วโมง ในการเจริญเติบโต 4-5 เดือน และจะเริ่มออกดอกเมื่ออายุประมาณ 120 วัน


                        2.1.3 ประโยชนและสรรพคุณ

                            กระเจี๊ยบแดงเปนสมุนไพรที่ชวยลดไขมันในเสนเลือด ลดความดันโลหิต มีฤทธิ์ตานเชื้อ

                  แบคทีเรีย ตานเชื้อรา แกไอขับเสมหะ ปองกันการเกิดนิ่วในกระเพาะปสสาวะและกระเจี๊ยบแดงยังมี
                  สรรพคุณทางยาดวย ใบสดและกลีบเลี้ยงสดของกระเจี๊ยบตมกินแกไอ แกนิ่ว ลดไข ขับน้ําดี ใชใบสดตม

                  หรือแกงกิน ใชกลีบเลี้ยงแหงตมน้ําและชงน้ํารอนกิน ในกลีบดอกของกระเจี๊ยบแดงมีสารประกอบ

                  ฟนอลิก สารแอนโทไซยานิน (Anthocyanin)  นอกจากนี้ยังเปนแหลงรวมสารอาหาร ที่สําคัญตอ
                  รางกายมากมายหลายชนิด โดยเฉพาะแคลเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม เหล็ก และวิตามิน เปนตน

                  สารประกอบฟนอลิก สารแอนโทไซยานิน และวิตามินซี จะมีคุณสมบัติเปนสารตานอนุมูลอิสระ

                        2.1.4 สารธรรมชาติออกฤทธิ์


                            มีสาร Anthocyanin และกรดอินทรียหลายตัว เชน citric acid, mallic acid, tartaric
                  acid, vitamin c ทําใหปสสาวะมีฤทธิ์เปนกรด

                            ฤทธิ์ฆาเชื้อแบคทีเรียในทางเดินปสสาวะ  จากการศึกษาในหลอดทดลองพบวาน้ํามันและ

                  สารสําคัญประเภท  unsaponifiable         matter ในดอก มีฤทธิ์ตานแบคทีเรีย Salmonella
                  typhi, Staphylococcus albus และ Bacillus anthracis น้ํากระเจี๊ยบมีฤทธิ์ตานเชื้อที่เปนสาเหตุของ

                  โรคอุจจาระรวง  สารสกัดดวยน้ํารอนจากกลีบเลี้ยงของกระเจี๊ยบมีฤทธิ์ตานเชื้อ Staphylococcus
                  aureus และ Bacillus cereus อยางไรก็ตาม จากการศึกษาในผูปวย เมื่อใหผูปวย 32 คน รับประทาน

                  น้ําชงกระเจี๊ยบในขนาด 6 กรัม วันละ 4 ครั้ง เปนเวลา 5  วัน และใหผูปวยดื่มน้ําไมนอยกวา 2 ลิตร

                  ตอวัน พบวาน้ําชงกระเจี๊ยบไมมีผลฆาเชื้อแบคทีเรียในระบบขับถายปสสาวะในผูปวย




















                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19