Page 23 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          2-11





                  2.5  พญายอ หรือ เสลดพังพอนตัวเมีย

                        ชื่อวิทยาศาสตร   2Clinacanthus nutans (Burm. f) 2Lindau

                        ชื่อวงษ        Acanthaceae

                        ชื่อสามัญ       ไมมี

                        ชื่อทองถิ่น    ผักมันไก ผักลิ้นเขียด (เชียงใหม) พญาปลองดํา (ลําปาง) พญาปลองทอง
                  (ภาคกลาง) ลิ้นมังกร โพะโซจาง (กะเหรี่ยง)และ พญายอ (แมฮองสอน)


                        2.5.1 ลักษณะทั่วไป

                             เปนไมพุมรอเลื้อย สูง 1-3  เมตร มีลําตนและกิ่งกานสีเขียวเขม ใบ เปนใบเลี้ยงเดี่ยว

                  ออกเรียงตรงขามกัน รูปรีแคบขอบขนานกวาง 1-3 เซนติเมตร ยาว 4-12 เซนติเมตร ดอกชอ ออกเปน
                  กระจุกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีแดงสม มีเกสรตัวผูและเกสรตัวเมียยาวโผลพนหลอดออกมา ปลายแยก

                  เปน 2  ปาก ผลเปนผลแหง ไมคอยออกดอก สวนมากขึ้นตามปา หรือปลูกกันตามบาน ดังนั้นการ
                  ขยายพันธุ  จึงทําไดโดยการปกชําหรือ การแยกเหงาแขนงไปปลูก























                  ภาพจาก : https://medthai.com























                  ภาพจาก : https://medthai.com



                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28