Page 21 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           2-9




                  2.4  บอระเพ็ด
                        ชื่อวิทยาศาสตร  Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook. f. & Thomson

                        ชื่อวงษ      Menispermaceae

                        ชื่อสามัญ     Heart-leaved moonseed

                        ชื่อทองถิ่น    เจตมูลหนาม (หนองคาย)  ตัวเจตมูลยานหรือเถาหัวดํา (สระบุรี)  หางหนู
                  (อุบลราชธานี) จุงจิงหรือเครือเขาฮอ (ภาคเหนือ)

                        2.4.1 ลักษณะทั่วไป


                            บอระเพ็ดเปนพันธุไมเถาเลื้อยเนื้อออน แตถาอายุมากเนื้อของลําตนอาจแข็งได เถาออน
                  ผิวเรียบสีเขียว เถาแกสีน้ําตาลอมเขียว ผิวขรุขระ เปนปุมๆ เถากลมโตขนาดนิ้วมือ ประมาณ 1-1.5

                  เซนติเมตร ยางมีรสขมจัด ขึ้นเกาะตนไมอื่นมักจะมีรากอากาศคลายเชือกเสนเล็กๆ หอยลงมาเปนสาย

                  ใบเดี่ยวเปนแบบสลับใบเปนรูปไขปอม โคนใบหยักเวาลึกเปนรูปหัวใจ โดยปกติปลายใบจะแหลม
                  (แบบ Acuminate)  มีเสน Nerve  5-7  เสนที่เกิดจากฐานใบขอบทั้งหมด ขอบใบเรียบขนาดกวาง

                  3.5-10 เซนติเมตร ยาว 6-13 เซนติเมตร แยกตนตัวผูเมียออกดอกเปนชอตามกิ่งแกตรงบริเวณซอกใบ
                  หรือปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็กสีเหลืองอมเขียว แดงอมชมพู เขียวออน เหลืองออน ชอดอกแบบ Raceme

                  หรือ Fasicle เดี่ยว ยาว 5-20 ประกอบดวยกลีบดอก กลีบเลี้ยงอยางละ 6 Stamen 6 ผล มีลักษณะ

                  เปน Drug รูปใบสีเหลืองถึงแดง ขนาด 2-3 เซนติเมตร






























                  ภาพจาก : https://health.kapook.com/view206518.html








                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26