Page 22 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          2-10




                        2.4.2 สภาพแวดลอมที่เหมาะสม

                            เจริญเติบโตไดดีในดินทั่วไป ชอบดินรวนซุย ความชื้นปานกลาง ชอบแสงแดดมาก

                  ควรปลูกในฤดูฝน

                        2.4.3 ประโยชนและสรรพคุณ

                            เถา เปนยาแกไข ขับเหงื่อ แกกระหายน้ํา แกรอนใน ใบ แกรํามะนาด ปวดฟน แกไข

                  แกโรคผิวหนัง ดับพิษปวดแสบปวดรอน ฆาแมลงที่หู บํารุงน้ําดี ฆาพยาธิไสเดือน ผล แกไข แกเสมหะ

                  เปนพิษ ราก แกไขขึ้นสูงที่มีอาการเพอคลั่ง ดับพิษรอน ถอนพิษไข เจริญอาหาร แกมะเร็งเม็ดเลือด
                  แกทองเฟอ มดลูกเสีย กินทุกวันทําใหรางกายแข็งแรง ไมเปนหวัด ในขณะเดียวกันมีผลขางเคียงได

                  การรับประทานตอเนื่องเปนระยะเวลานาน อาจมีผลตอหัวใจ เพราะเปนยารสขม

                        2.4.4 สารธรรมชาติออกฤทธิ์


                            ประกอบดวยแคลคาลอยดหลายชนิด สารขมชื่อ picroretin,               columbin,
                  picroretroside  สารกลุมไตรเทอปนอยส เชน borapetoside A, borapetoside B, borapetol A,

                  tinocrisposide และสารกลุมอัลคาลอยด เชน N-formylannonaine, N-acetylnornuciferine
                            ฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือด มีการศึกษาในสัตวทดลองพบวาสารสกัดน้ําและสารสกัด  95

                  เปอรเซ็นต เอทานอลจากสวนเถาบอระเพ็ด มีฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือด ในหนูที่เปนเบาหวานจากการ

                  กระตุนดวย alloxan  และหนูแรทที่มีภาวะอวน  สารสําคัญจากบอระเพ็ด ไดแก borapetoside  A,
                  B และ C สามารถลดน้ําตาลในเลือดของหนูที่เปนเบาหวานจากการเหนี่ยวนํา

                  ดวย streptozotocin โดยออกฤทธิ์เกี่ยวของกับการเพิ่มระดับอินซูลิน กระตุนการสังเคราะหไกลโคเจน

                  ในกลามเนื้อ กระตุนการใชกลูโคสของเซลล และลดการสะสมน้ําตาลในเซลล เปนผลใหระดับของ
                  น้ําตาลในเลือดลดลง






























                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27