Page 16 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           2-4




                        2.2.2 สภาพแวดลอมที่เหมาะสม

                             42เกกฮวย 42 เปนพืชดั้งเดิมของประเทศจีนและญี่ปุน แตภายหลังไดแพรกระจายไปทั่วใน

                  ประเทศกัมพูชา ลาว รวมถึงบานเราดวย ซึ่งจะเพาะปลูกไดดีในพื้นที่สูงของประเทศ ชอบมากถาดินรวน
                  ปนทราย ระบายน้ําดี มีความเปนกรดดางเปนกลาง อุณหภูมิ 12-35  องศาเซลเซียส ความสูงจาก

                  ระดับน้ําทะเลปานกลาง 100-500  เมตร สูงกวานี้อาจออกดอกชาหรือไมก็ตองควบคุมอุณหภูมิแบบใน
                  เรือนกระจก  ใชเวลาปลูกประมาณ 9  เดือน  โดยเริ่มปลูกตั้งแตเดือนเมษายนถึงพฤศจิกายน ซึ่งเดือน

                  พฤศจิกายนจะเปนชวงที่ใหดอก และเก็บดอกตากแดด

                        2.2.3 ประโยชนและสรรพคุณ


                            น้ําเกกฮวยใชดื่มแกกระหาย เพิ่มความสดชื่นชวยกําจัดสารพิษออกจากรางกาย
                  ชวยขับเหงื่อ จากงานวิจัยพบวาสารสกัดจากดอกเกกฮวยมีคุณสมบัติชวยยับยั้งเชื้อไวรัสเอดส ชวยดูด

                  ซับสารกอมะเร็งและจุลินทรียชนิดตางๆ ขยายหลอดเลือดแดงใหญที่ไปเลี้ยงหัวใจ ชวยปองกันการเกิด

                  โรคหลอดเลือดตางๆ ปองกันการเกิดโรคหัวใจ ภาวะหัวใจลมเหลว ปองกันการเกิดโรคความดัน โลหิตสูง
                  ปองกันการเกิดโรคเสนเลือดตีบ แกอาการตาอักเสบ ดวยการใชดอกสดตําแลวนํามาประคบภายนอก

                  ดวงตา ใชรักษาฝเปนหนอง บวม และเปนพิษ ดวยการใชดอกสดนํามาบดผสมน้ําแลวดื่ม และนํากาก

                  ที่เหลือมาพอกบริเวณที่เปน
                             ดอกเกกฮวยเล็กมีกลิ่นหอม ใชดอกตากแหงชงเปนน้ําชาดื่มชื่นใจผอนคลายหายเครียด

                  ใบและลําตนใชตําพอกแผลน้ํารอนลวก แกโรคผิวหนังอื่นๆ สวนใบและดอก คั้นสดเอาน้ําใสบาดแผล
                  น้ําตมดื่มแกโรคนิ่ว โรคตอมน้ําเหลือง วัณโรค ไมระบุสวนที่ใช แกโรคตับ ไขขออักเสบ โรคตามืดในเวลา

                  กลางคืน โรคประจําเดือนไมมาตามปกติ ปวดหัว วิงเวียนศีรษะ หูอื้อ ปองกันไมใหผมหงอก เปนยาขับ

                  ลมในลําไส เจริญอาหาร บํารุงเสนประสาท สายตา

                        2.2.4 สารธรรมชาติออกฤทธิ์

                            มีสารพวกฟลาโวนอยด (Flavonoid)  สารไครแซนทีมิน (Chrysanthemin)  สารอะดีนีน

                  (Adenine) สตาไคดวีน (Stachydrine) โคลีน (Choline) กรดอะมิโน และน้ํามันหอมระเหย

                            ฤทธิ์รักษาโรคเบาหวาน โดยมีการทดลองใหผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จํานวน 188 ราย
                  รับประทานผลิตภัณฑจากเกกฮวยครั้งละ 8  กรัม วันละ 3  ครั้ง เปรียบเทียบกับผูปวยอีกกลุมที่ไมได

                  บริโภคเกกฮวย ผลการตรวจเลือดหลังจากผานไป 6  เดือนพบวา กลุมที่รับประทานเกกฮวยมีความไว
                  ของอินซูลินเพิ่มขึ้นในผูที่เพิ่งเปนเบาหวาน และยังมีระดับน้ําตาลในเลือดลดลงอยางเห็นไดชัด ขณะที่มี

                  ความหนืดของเลือดและระดับไขมันไตรกลีเซอไรดลดลงดวยเชนกัน นักวิจัยจึงคาดวาผลิตภัณฑจาก

                  เกกฮวยอาจชวยเพิ่มความไวของอินซูลินในผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได นอกจากนี้ การทดสอบสาร
                  สกัดจากเกกฮวยผสมกับสารสกัดจากพืชชนิดตางๆ ที่ศึกษาในหองทดลอง พบวาสารสกัดจากเกกฮวย





                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21