Page 16 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 16
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
8
และการตรวจสอบดินในสนาม โดยกําหนดไวประมาณ 1 ตารางกิโลเมตรตอ 4-6 จุดตรวจสอบดิน
(100-150 ไร/1 จุด) หนวยแผนที่ที่ใชแสดงไวบนแผนที่ดินสวนใหญจะเปนหนวยเดี่ยว (consociations)
หนวยดินสัมพันธและหนวยดินเชิงซอน (complexes) ประเภทของชุดดิน (soil phase) หรือดินคลาย
(soil variants) และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด แผนที่ดินที่พิมพออกเผยแพรมีมาตรสวน 1:25,000 ถึง
1:60,000 พื้นที่ที่เล็กที่สุดที่แสดงในแผนที่ประมาณ 37.5-225 ไร
5. การสํารวจดินแบบละเอียด (detailed survey) เปนการสํารวจดินในระดับ
ไรนาหรือในพื้นที่โครงการขนาดเล็ก ที่ตองการการพัฒนาอยางประณีต สามารถจัดทําแผนการจัดการ
ที่ดินที่สามารถนําไปปฏิบัติจริงในพื้นที่ได ดังนั้นจําเปนตองมีการบันทึกขอมูลที่คอนขางละเอียดกวา
ระดับการสํารวจดินที่ผานมา และมีการตรวจสอบขอบเขตของดินใหมีความถูกตองมาก แผนที่ที่ใชใน
การสํารวจดินในสนามมีมาตราสวนอยูระหวาง 1:5,000 ถึง 1:30,000 ขอบเขตของดินจะเนนการ
ตรวจสอบดินในสนามใหมากขึ้น ระยะหางในการตรวจสอบดินไมควรหางกันเกิน 250 เมตร ตอ 1 จุด
(50-80 ไร/1 จุด) หนวยแผนที่ที่ใชแสดงไวบนแผนที่ดินสวนใหญจะเปนหนวยเดี่ยว ประเภทของ
ชุดดิน ดินคลาย หนวยดินเชิงซอน และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด แผนที่ดินที่พิมพออกเผยแพรมีมาตราสวน
1:10,000 ถึง 1:30,000 พื้นที่ที่เล็กที่สุดที่แสดงในแผนที่ประมาณ 6.25-62.5 ไร
6. การสํารวจดินแบบละเอียดมาก (very detailed survey) เปนการสํารวจดินใน
พื้นที่ที่ใชในการศึกษาวิจัย การทําแปลงทดลองที่ตองการขอมูลที่มีความถูกตองแมนยําและมีความ
ละเอียดเปนพิเศษรวมถึงความถูกตองของขอบเขตดิน และจําเปนตองมีการเก็บตัวอยางดินวิเคราะหดวย
แผนที่ที่ใชในการสํารวจดินในสนามมีมาตราสวนอยูระหวาง 1:2,000 ถึง 1:10,000 ขอบเขตของดิน
จะเนนการตรวจสอบดินในสนามใหมากขึ้น ระยะหางในการตรวจสอบดินไมควรหางกันเกิน
100 เมตร ตอ 1 จุด (3-10 ไร/1 จุด) หนวยแผนที่ที่ใชแสดงไวบนแผนที่ดินสวนใหญจะเปนประเภท
ของชุดดินหรือดินคลาย และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด แผนที่ดินที่พิมพออกเผยแพรมีมาตราสวน 1:5,000
ถึง 1:10,000 พื้นที่ที่เล็กที่สุดที่แสดงในแผนที่ประมาณ 3.125-6.25 ไร
สําหรับการศึกษาการสํารวจดินในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินครั้งนี้จะใชลําดับชั้นการ
จําแนกดินเปนประเภทของกลุมชุดดิน (groups of soil series) สวนในพื้นที่ดําเนินการจะใชการ
สํารวจดินแบบละเอียด (detailed survey) เปนการสํารวจดินในระดับไรนา มาตราสวน 1:4,000
โดยใชระบบการจําแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดินของ USDA (United States Department of
Agriculture) หนวยแผนที่ที่ใชเปนหนวยเดี่ยว (consociations) โดยเปนประเภทของชุดดินหรือ
ดินคลาย (phases of soil series หรือ soil variants) และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous
areas) โดยขอมูลจากการสํารวจดินสามารถนําไปใชประโยชนในงานวางแผนการใชที่ดิน การจัดการ
ดินที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได การตรวจสอบสภาพความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน
การออกแบบระบบอนุรักษดินและน้ําระดับไรนา และงานวางแผนระบบชลประทาน
การจําแนกดิน (soil classification) หมายถึง การรวบรวมดินชนิดตาง ๆ ที่มีลักษณะและ
สมบัติที่คลายคลึงกันตามที่กําหนดไวเปนหมวดหมูอยางมีระเบียบ เพื่อสะดวกในการจดจําและ
นําไปใชงาน ซึ่งจะทําใหเกิดความเขาใจตรงกันเมื่อกลาวถึงดินชนิดใดชนิดหนึ่ง