Page 20 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       12


                       บอกถึงสภาพปญหาของดินในพื้นที่ และแนวทางการจัดการดินที่สามารถนําไปปฏิบัติได ชนิดของ
                       ประเภทดินที่พบและคาดวาจะพบในประเทศไทย (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2551)

                       ไดแก
                                     1. เนื้อดินบน (surface texture) หมายถึง ดินตอนบนเฉลี่ยตั้งแตผิวดินจนถึง
                       ความลึก 25 เซนติเมตรจากผิวดิน หรือถึงแนวสัมผัสแข็งหรือกึ่งแข็งถาตื้นกวา ดินบนเปนสมบัติดินที่

                       มีความสําคัญตอการเจริญเติบโตและและการยึดเหนี่ยวของรากพืช เปนแหลงสะสมธาตุอาหาร
                       น้ําและสิ่งมีชีวิตในดิน เนื้อดินบนสามารถจําแนกได 2 ประเภท ไดแก
                                        1) เนื้อดินบนที่เปนวัสดุอินทรีย (organic material on surface layer) พิจารณา

                       สวนที่เหลือจากการยอยสลายของวัสดุอินทรีย แบงออกได 3 ชนิด ไดแก
                                          (1) Peat (pt) คือ วัสดุอินทรียที่มีการสลายตัวนอยมาก ยังเห็นเปนชิ้นสวน
                       ของใบ ราก กิ่งและกานของพืช ซึ่งตรงกับ fibric soil material (Oi) ในระบบอนุกรมวิธานดิน

                                          (2) Mucky peat (mp) คือ วัสดุอินทรียที่มีการสลายตัวปานกลาง มีบางสวน
                       ยังคงสภาพเปนใบ ราก กิ่ง และกานของพืชใหเห็นบางซึ่งตรงกับ hemic soil material (Oe) ใน
                       ระบบอนุกรมวิธานดิน

                                          (3) Muck (mk) คือ วัสดุอินทรียที่มีการสลายตัวสมบูรณแลวจนไมสามารถ
                       บอกไดวาเปนสวนใดของพืช ซึ่งตรงกับ sapric soil material (Oa) ในระบบอนุกรมวิธานดิน
                                        2) เนื้อดินบนที่เปนวัสดุอนินทรีย (mineral material on surface layer) ใชชื่อ

                       เรียกตามชั้นของเนื้อดินตามสัดสวนโดยน้ําหนักของอนุภาคที่มีขนาดเล็กกวา 2 มิลลิเมตร ไดแก
                       อนุภาคขนาดทราย (0.05-2.0 มิลลิเมตร) อนุภาคขนาดทรายแปง (0.002-0.05 มิลลิเมตร) และ
                       อนุภาคขนาดดินเหนียว (เล็กกวา 0.002 มิลลิเมตร) สามารถแบงออกตามสัดสวนของของอนุภาค

                       ขนาดทราย ทรายแปง และดินเหนียว ไดเปน 12 ชนิด ไดแก ดินทราย (s : sand) ดินทรายปนดินรวน
                       (ls : loamy sand) ดินรวนปนทราย (sl : sandy loam) ดินทรายแปง (si : silt) ดินรวนปนทรายแปง
                       (sil : silt loam) ดินรวน (l : loam) ดินรวนเหนียวปนทราย (scl : sandy clay loam) ดินรวนปนดิน
                       เหนียว (cl : clay loam) ดินรวนเหนียวปนทรายแปง (sicl : slity clay loam) ดินเหนียวปนทรายแปง

                       (sic : silty clay) ดินเหนียวปนทราย (sc : sandy clay) และดินเหนียว (c : clay) โดยทั่วไปประเภท
                       ของเนื้อดินตอนบนจะใชในการจําแนกในระดับชุดดินเทานั้นหากเปนการจําแนกในระดับที่สูงขึ้นไป

                       อาจใชประของกลุมเนื้อดินเปนตัวแบง
                                        3) ชิ้นสวนหยาบ (coarse fragments) หมายถึง ชิ้นสวนที่มีขนาด 2 มิลลิเมตร
                       หรือโตกวาที่ปะปนอยูในเนื้อดินตามชั้นดินตาง ๆ และที่กระจัดกระจายบนผิวดิน สงผลกระทบตอการ
                       เจริญเติบโตของพืช ปริมาณความชื้น ธาตุอาหาร การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการใชเครื่องมือ

                       หรือเครื่องจักรกล เปนตน ชิ้นสวนหยาบแบงเปนประเภทตาง ๆ และมีชื่อเรียกแตกตางกันขึ้นอยูกับ
                       รูปรางและขนาดของชิ้นสวนหยาบ (ตารางที่ 1)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25