Page 21 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       13


                       ตารางที่ 1 ขนาดและรูปรางของชิ้นสวนหยาบ


                         ขนาดเสนผาศูนยกลาง       ชื่อเรียก          คํานาม             คําคุณศัพท

                             (มิลลิเมตร)

                        1. รูปรางกลม เปนกอนเหลี่ยม หรือรูปรางไมแนนอน
                        2-76                   กรวด              Gravel              Gravelly

                                 2-5              กรวดขนาดเล็ก      Fine gravel         Fine gravelly
                               >5-20              กรวดขนาดกลาง      Medium gravel       Medium gravelly
                               >20-76             กรวดขนาดใหญ      Coarse gravel       Coarse gravel
                        >76-250                กอนหินมนเล็ก     Cobbles             Cobbly
                        >250-600               กอนหิน           Stones              Stony
                        >600                   กอนหินมนใหญ     Boulders            Bouldery

                        2. รูปรางเปนแผน
                        2-150                  มีเศษหินแผน      Channer             Channery
                        >150-380               มีหินแผน         Flagstoness         Flaggy

                        >380-600                      -          Stones              Stony
                        >600                          -          Boulders            Boulder


                                        ชิ้นสวนหยาบพิจารณาได 2 ลักษณะ ดังนี้
                                          (1) ชิ้นสวนหยาบที่ปะปนอยูในเนื้อดิน ปริมาณชิ้นสวนหยาบที่อยูปะปนกับ
                       เนื้อดินในชั้นดินตาง ๆ มีหนวยวัดเปนรอยละโดยปริมาตร ใชพิจารณารวมกับเนื้อดินที่มีขนาดเล็กกวา

                       2 มิลลิเมตร โดยเปนคําคุณศัพทขยายเนื้อดิน ชิ้นสวนหยาบที่ปะปนอยูในเนื้อดิน แบงออกเปน 5 ชั้น
                       ตามปริมาณและชนิดของชิ้นสวนหยาบ (ตารางที่ 2)

                                          (2) ชิ้นสวนเนื้อหยาบกระจัดกระจายบนผิวดิน โดยพิจารณาวัสดุที่มีขนาด
                       2-250 มิลลิเมตร มีหนวยวัดเปนรอยละของพื้นที่ การสํารวจและทําแผนที่จะตองบันทึกสัดสวนโดย
                       ปริมาตรของชิ้นสวนขนาดตาง ๆ ที่พบดวย ชิ้นสวนเนื้อหยาบกระจัดกระจายบนผิวดิน แบงออกเปน
                       6 ชั้น (ตารางที่ 3)

                                     2. ความลาดชันของพื้นที่ (slope) หมายถึง ลักษณะของพื้นที่ที่เบี่ยงเบนหรือเอียง
                       ไปจากแนวราบหรือระนาบ (slope gradient) มีหนวยวัดเปนองศาของมุมเอียง (degree of slope

                       angle) เปอรเซ็นตของความเอียง (percentage gradient) หรือสัดสวนของระยะในแนวตั้งกับ
                       แนวนอน (proportion of the vertical distance to the horizontal distance) แตที่ใชในการ
                       สํารวจดินและทําแผนที่ดินจะใชหนวยเปนเปอรเซ็นตของความลาดเอียง ความลาดชันของพื้นที่จะมี
                       อิทธิพลตอลักษณะและสมบัติของดินรวมถึงการไหลบาของน้ําและตะกอนตาง ๆ การแบงชั้นความ

                       ลาดชันของพื้นที่ในประเทศไทยนั้น ไดมีการปรับปรุงใหสอดคลองและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                       แนวทางในการใชประโยชนและจัดการดิน โดยแบงออกเปน 8 ชั้น (ตารางที่ 4)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26